Bonnie Bassler: How bacteria "talk"
บอนนี แบสเลอร์: แบคทีเรีย "พูด" ได้อย่างไร
Bonnie Bassler studies how bacteria can communicate with one another, through chemical signals, to act as a unit. Her work could pave the way for new, more potent medicine. Full bio
Double-click the English transcript below to play the video.
ที่สุดบนโลกใบนี้
และมีคุณสมบัติพิเศษ
ที่มันแสดงออกมาอยู่
พวกมันแบ่งครึ่งตัวเอง
เป็นแบบนี้ไปเรื่อยๆ
โตแล้วก็แบ่งตัว อาจดูเป็นชีวิตที่น่าเบื่อ
กับสิ่งมีชีวิตนี้
และนี่ก็เป็นสิ่งที่ฉันนึกถึงคุณ
คือเซลล์ทุกชิ้นที่ประกอบขึ้นมาเป็นกายคุณ
และทำให้คุณมีเสน่ห์แบบนี้
มากกว่าร้อยเท่าของแบคทีเรีย
คุณมีความเป็นมนุษย์ 10 เปอร์เซ็นต์
สัก 90 หรือ 99 เปอร์เซ็นต์
เหมือนเป็นเกราะที่มองไม่เห็น
ที่ทำให้เราอยู่รอด
จากเรื่องนี้เลย
ข้างในหรือบนตัวคุณเลย
คุณอยากจะคิดถึงสิ่งดีๆ
แค่โตขึ้นแล้วก็แบ่งตัว
มีผลอะไรกับ
แบคทีเรียชนิดหนึ่งในทะเล
คนจากห้องทดลองของฉัน
มันสร้างแสงได้
มันจะไม่สร้างแสง
สิ่งมีชีวิตโบราณนี้
เวลานั้นมันอยู่ลำพัง
พวกมันมีการคุยกันและกัน
และหลั่งโมเลกุลเล็กๆออกมา
และเมื่อแบคทีเรียอยู่ตัวเดียว
และไม่มีแสงใดๆ เกิดขึ้น
อยู่ในวิชาชีววิทยา
สัตว์ที่อาศัยในมหาสมุทร
ที่กำลังส่องแสงอยู่
พวกเจ้าเล่ห์เหล่านี้มาอยู่
ไม่ไกลจากชายฝั่งของฮาวาย
เนื่องจากมันลึกแค่ไม่กี่ฟุต
ที่ๆ แบคทีเรียอาศัยอยู่
ส่องมาที่หลังของมันเยอะแค่ไหน
มือวางระเบิดล่องหนใต้มหาสมุทร
หมึกนี้มีปัญหาหนักอยู่อย่างหนึ่ง
จังหวะนาฬิกาชีวภาพของมัน
แบคทีเรียสัก 95 เปอร์เซ็นต์ออกไป
โมเลกุลฮอร์โมนก็ไปแล้ว
เพราะมันกำลังหลับอยู่ใต้ทราย
ว่านี่คือเซลล์แบคทีเรียของฉัน
พวกมันปล่อยโมเลกุลออกมา
สามารถพูดคุยกับตัวอื่นๆได้
พวกมันเข้าใจคำพูดเหล่านี้
ร่วมใจกันเป็นหนึ่งเดียว
เราเรียกมันว่าระบบ Quorum sensing
ทุกคนก็ตอบสนองต่อผลโหวต
คือ ความเป็นพิษ
สองสามตัวเข้าไปในตัวคุณ
คุณตัวใหญ่มาก
ขึ้นมาโจมตีด้วยกัน
ผู้ที่ถูกอาศัยตัวยักษ์ได้
ด้วยระบบ quorum sensing เสมอ
ที่อยู่ในสไลด์ก่อนหน้า
ของโมเลกุลที่เราพบ
แตกต่างกันเล็กน้อยในแต่ละสายพันธุ์
ไว้ในภาษาเหล่านี้
ไม่มีตัวอื่น
สื่อสารกันในสายพันธุ์
ซึ่งก็คือภาษาของมัน
พฤติกรรมทางสังคมแบบนี้อยู่
เกือบตลอดเวลา
มันอยู่รวมๆกันแบบไม่น่าเชื่อ
นี่คือผิวหนังของคุณ
มีแบคทีเรียทุกชนิดอยู่ในนั้น
การสื่อสารของแบคทีเรียจริงๆ
ที่สร้างสัญญาณแบบที่สอง
คือภาษาแลกเปลี่ยนของแบคทีเรีย
ใครเป็นกลุ่มใหญ่
มีเอนไซม์เหมือนกันไม่ผิดเพี้ยน
ด้วยภาษาแบบเคมีนี้
มีพฤติกรรมทางสังคม
ว่าสิ่งสำคัญที่พวกมันทำ
โดยใช้ระบบ Quorum sensing
ยาหลากหลายตัวจนไม่น่าเชื่อ
ที่เราใช้กำจัดพวกมัน
ของแบคทีเรียด้วย
เราใช้วิธีการสองอย่าง
ที่จำเพาะสายพันธุ์ หรือโรค
มาเบนเล็กน้อย
ต่อต้าน quorum sensing แทน
แสดงบนสไลด์ค่ะ
แบคทีเรียก่อโรคที่ดื้อยาทั้งหลาย
ของระบบต้าน quorum sensing
ช่วยลดปัญหาให้พวกเรา
แบคทีเรียคุยกันเอง
ที่ซับซ้อนเหลือเชื่อนี้
พวกเขาร่วมมือกัน
อภิปรายให้คุณฟังต่อไป
ภาวะหลายเซลล์ในร่างกายมนุษย์
ในสิ่งมีชีวิตโบราณนี้
ที่บอกว่า "นี่ฉัน" และ "นี่คุณ"
ในทางเคมีเกิดขึ้น
กลุ่มก้อนเซลล์นี้คือใคร
ซี่งเราเรียนรู้ได้
ส่วนที่ปฏิบัติจริงอยู่
ระบบต่อต้าน quorum sensing
เบื้องหลังของความดีและอัศจรรย์
ช่วยระบบ quorum sensing ด้วย
เพื่อทำให้โมเลกุลทำงานได้ดีขึ้น
มากกว่าสิบเท่า
เสริมการสนทนา
ทำสิ่งที่เราต้องการ
ถูกค้นพบโดยคนหนึ่งที่อยู่ในรูปนั้น
อ่านบางสิ่งบนหนังสือพิมพ์
เกี่ยวกับโลกธรรมชาติที่ฟังดูไร้สาระ
การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ของประเทศนี้ค่ะ
แต่พวกเขาอายุเท่าเดิมตลอด
ที่ได้มายืนบนเวทีนี้ค่ะ
ABOUT THE SPEAKER
Bonnie Bassler - Molecular biologistBonnie Bassler studies how bacteria can communicate with one another, through chemical signals, to act as a unit. Her work could pave the way for new, more potent medicine.
Why you should listen
In 2002, bearing her microscope on a microbe that lives in the gut of fish, Bonnie Bassler isolated an elusive molecule called AI-2, and uncovered the mechanism behind mysterious behavior called quorum sensing -- or bacterial communication. She showed that bacterial chatter is hardly exceptional or anomolous behavior, as was once thought -- and in fact, most bacteria do it, and most do it all the time. (She calls the signaling molecules "bacterial Esperanto.")
The discovery shows how cell populations use chemical powwows to stage attacks, evade immune systems and forge slimy defenses called biofilms. For that, she's won a MacArthur "genius" grant -- and is giving new hope to frustrated pharmacos seeking new weapons against drug-resistant superbugs.
Bassler teaches molecular biology at Princeton, where she continues her years-long study of V. harveyi, one such social microbe that is mainly responsible for glow-in-the-dark sushi. She also teaches aerobics at the YMCA.
Bonnie Bassler | Speaker | TED.com