Kate Raworth: A healthy economy should be designed to thrive, not grow
เคท รอเวิร์ธ (Kate Raworth): เศรษฐกิจที่ดีควรได้รับการออกแบบมาเพื่อให้เกิดความก้าวหน้า ไม่ใช่เพื่อการเติบโต
Kate Raworth is passionate about making economics fit for the 21st century. Full bio
Double-click the English transcript below to play the video.
a baby learning to crawl?
parent knows, it's gripping.
of forwards and upwards,
ของการเดินหน้า และลุกขึ้นนี้
of progress we humans recognize.
ในการรับรู้ของมนุษย์
of evolution as well,
ในวิวัฒนาการด้วยเช่นกัน
to Homo erectus, finally upright,
จนถึง โฮโม อิเร็กตัส ที่ยืนได้ในที่สุด
หรือมนุษย์ที่เราเห็นในปัจจุบัน
will take this very same shape,
ก็จะมีรูปแบบเดียวกัน
whether or not they make us thrive,
ไม่ว่ามันจะทำให้เราก้าวหน้าหรือไม่
especially in the richest countries,
โดยเฉพาะในประเทศที่ร่ำรวย
ในเชิงแนวคิด
we need to make
ที่พวกเราต้องการ
here together this century.
ในศตวรรษนี้ร่วมกัน
with growth come from?
การเติบโตนี้เสียมากมายด้วย
of goods and services
ทางเศรษฐศาสตร์
the overriding goal of policymaking,
เป้าหมายของการตั้งนโยบาย
in the richest of countries,
to their economic problems
the 1960 classic by W.W. Rostow.
จากปี ค.ศ. 1960 โดย ดับเบิลยู โรสโทว์
I have a first-edition copy.
มีฉบับที่ถูกตีพิมพ์ครั้งแรกด้วย
A Non-Communist Manifesto."
คือแถลงการณ์ของลัทธิที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์"
five stages of growth:
where a nation's output is limited
ที่ผลิตผลของชาติมีอยู่อย่างจำกัด
its institutions and mindset;
และแนวคิดของสังคมนั้น
of a banking industry,
for something beyond itself,
ที่บางสิ่งที่เป็นยิ่งกว่าตัวตนของมัน
or a better life for the children;
สภาพชีวิตที่ดีกว่าของเด็ก ๆ
is built into the economy's institutions
มุ่งไปที่การสร้างสถาบันทางเศรษฐศาสตร์
where you can have any industry you want,
ที่คุณสามารถมีธุรกิจอะไรก็ได้ตามต้องการ
เป็นอย่างไร
the age of high-mass consumption
คือยุคแห่งการบริโภคในปริมาณมาก
all the consumer goods they want,
airplane metaphor in this story,
กับเครื่องบิน
into the sunset of mass consumerism,
สู่สายัณห์ของการบริโภคปริมาณมาก
in real income itself loses its charm?"
เสียเสน่ห์ของมันไป
but he never answered it, and here's why.
และนี่คือเหตุผล
candidate John F. Kennedy,
on the promise of five-percent growth,
ด้วยนโยบายที่ว่าเศรษฐกิจจะเติบโต 5%
to keep that plane flying,
ทำให้เครื่องบินนั้นบินต่อไป
it could ever be allowed to land.
ได้เมื่อไหร่ และอย่างไร
of mass consumerism
แห่งการบริโภคในปริมาณมาก
to expect, demand and depend upon
politically and socially addicted to it.
และสังคมแล้ว เราเสพติดมัน
because today's financial system
เพราะระบบทางการเงินในปัจจุบัน
the highest rate of monetary return,
อัตราการตอบแทนทางการเงินสูงสุด
under constant pressure
ตกอยู่ภายใต้แรงกดดันอย่างต่อเนื่อง
growing market share and growing profits,
ขยายส่วนแบ่งทางการตลาดและผลกำไร
as debt bearing interest,
ในรูปแบบหนี้ที่มีดอกเบี้ย
want to raise tax revenue
seems a sure way to do that.
ก็ดูเป็นเรื่องที่จำเป็นต้องทำ
their place in the G-20 family photo.
อยากพลาดโอกาสถ่ายรูปหมู่ G-20
while the rest keep going,
ขณะที่คนอื่นเดินหน้า
by the next emerging powerhouse.
of consumer propaganda,
แห่งการบริโภคชวนเชื่อ
was created by Edward Bernays,
มันถูกสร้างโดย เอ็ดเวิร์ด เบอร์เนส์
his uncle's psychotherapy
very lucrative retail therapy
การบำบัดด้วยการจับจ่ายที่มีกำไรงาม
to believe that we transform ourselves
เราสามารถเปลี่ยนตัวเองได้
are insurmountable,
ที่ยากเกินกว่าที่เราจะเอาชนะ
than they currently get,
มากกว่าที่เป็นอยู่ในตอนนี้
has been taking us.
ที่พาเรามาถึงจุดนี้ดูสิ
than it was in 1950
จากปี ค.ศ. 1950
prosperity to billions of people,
ที่ให้ความร่ำรวยกับผู้คนหลายพันล้าน
has also become incredibly divisive,
of the global one percent.
incredibly degenerative,
this delicately balanced planet
ให้กับโลกที่มีสมดุลแสนเปราะบาง
new destinations for growth.
เสนอหนทางการเติบโตแบบใหม่
inclusive growth,
การเติบโตองค์รวม
ยืดหยุ่น และสมดุล
so long as you choose growth.
ตราบใดที่คุณยังเลือกการเติบโต
a higher ambition, a far bigger one,
สิ่งที่ทะเยอทะยานกว่าและยิ่งใหญ่กว่า
21st century challenge is clear:
แห่งศตวรรษที่ 21 มันชัดเจนว่า
extraordinary, unique, living planet
ที่เป็นบ้านอันมีเอกลักษณ์น่าพิศวงนี้
of nature can thrive.
ธรรมชาติเติบโตไปได้ด้วยกัน
to be measured with the metric of money.
จะใช้เงินในการวัดไม่ได้
a picture of what that might look like,
ว่ามันควรออกมาเป็นอย่างไร
to the one doughnut
เกี่ยวกับโดนัทนี่หน่อยนะคะ
to be good for us.
radiating out from the middle.
ว่าแผ่ออกจากตรงกลาง
on life's essentials.
education, political voice, housing
การศึกษา สิทธิ์ทางการเมือง ที่อยู่อาศัย
for a life of dignity and opportunity.
อย่างมีศักดิศรีความเป็นคนและโอกาส
over the social foundation
ให้อยู่เหนือระดับพื้นฐานของสังคม
overshoot that outer circle,
ให้มากกว่าวงกลมส่วนนอก
on this extraordinary planet
ก็จะเป็นการกดดันโลกมากเกินไป
we acidify the oceans,
มหาสมุทรที่เป็นกรด
beyond the planetary boundaries
that have for the last 11,000 years
ที่มีมานานกว่า 11,000 ปี
home to humanity.
บ้านสงเคราะห์ของมนุษย์
to meet the needs of all
เพื่อสนองความต้องการของทุกชีวิต
between the foundation and the ceiling.
ระหว่างระดับพื้นฐานกับระดับสูงสุด
once I'd drawn this picture
in many ancient cultures
ในหลาย ๆ วัฒนธรรมโบราณ
of dynamic balance,
the Buddhist endless knot,
"เงื่อนอนันต์ภาคย์" ในพุทธศาสนา
in the 21st century?
ในศตวรรษที่ 21 ได้ไหม
right now we are far from balanced,
ตอนนี้เราอยู่ห่างจากสมดุลมาก
at the same time.
ในเวลาเดียวกัน
millions or billions of people worldwide
คนเป็นหลายล้านหรือหลายพันล้านทั่วโลก
on their most basic of needs.
four of these planetary boundaries,
สูงกว่าขอบเขตของโลกถึงอย่างน้อยสี่เท่า
of climate breakdown
จากสภาวะภูมิอากาศที่ผิดปกติ
and our planetary home.
และดาวเคราะห์ที่เป็นบ้านของเราในตอนนี้
saw this picture,
เคยเห็นภาพนี้
that their theories
generation to see this
of turning this story around.
ที่จะมีโอกาสหันหัวเรือกลับได้ทัน
that if growth creates inequality,
ย้ำเราว่าถ้าการเติบโตสร้างความไม่เท่าเทียม
will even things up again.
จะปรับสู่สมดุลเอง
will clean things up again.
เพราะการเติบโตที่มากขึ้นจะชำระล้างให้เอง
this shortfall and overshoot together,
พร้อม ๆ กับการจำกัดความฟุ่มเฟือย
and distributive by design.
และจัดสรรได้ด้วยการออกแบบ
degenerative industries.
เป็นอุตสาหกรรมที่เสื่อมถอย
make them into stuff we want,
มาสร้างเป็นสิ่งที่ต้องการ
and then throw it away,
แล้วก็โยนทิ้ง
over planetary boundaries,
ใช้โลกของเราอย่างเกินของเขต
the cycles of the living world,
วัฏจักรของโลกที่เราอาศัยอยู่
but used again and again,
แต่สามารถนำกับมาใช้ได้เรื่อย ๆ
is food for the next.
เป็นแหล่งวัตถุดิบป้อนอีกกระบวนการหนึ่ง
is popping up everywhere.
กำลังถือกำเนิดขึ้นในหลาย ๆ ที่
from Quito to Oslo,
จาก ควิโต ถึง ออสโล
of their electricity
มากกว่า 70 เปอร์เซ็นต์
are pioneering circular city design,
กำลังบุกเบิกการออกแบบเมืองที่มีวัฏจักร
from one urban process
จากกระบวนการผลิตของเมือง
to Queensland, Australia,
จนถึง ควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย
once-barren landscapes
กำลังปฏิรูปภูมิประเทศที่เคยแห้งแล้ง
regenerative by design,
distributive by design,
ด้วยการออกแบบเช่นกัน
opportunities for making that happen,
ที่จะทำให้มันเกิดขึ้น
centralized technologies,
ให้ความสำคัญกับเทคโนโลยี
knowledge and power in few hands.
และอำนาจตกอยู่ในกำมือของคนไม่กี่คน
our technologies and institutions
เทคโนโลยีและสถาบันของเรา
and empowerment to many.
และอำนาจให้กับผู้คนอีกมากมาย
and large-scale manufacturing,
และส่วนการผลิตขนาดใหญ่
digital platforms and 3D printing.
พื้นที่แบบดิจิทัล และเครื่องพิมพ์สามมิติ
of intellectual property is being upended
โดยองค์กรกำลังจะถูกคว่ำ
peer-to-peer knowledge commons.
ที่เปิดเผยต่อสาธารณะ
maximum rate of return
that are designed to generate
ที่ออกแบบมาเพื่อผลิต
with those throughout their networks.
และแบ่งปันไปทั่วทั้งเครือข่าย
จนถึงบล็อคเชน
to material science,
หรือวัสดุศาสตร์
in service of distributive design,
เพื่อการออกแบบที่จัดสรรได้
finance, energy, political voice
การเงิน พลังงาน สิทธิ์เสียงทางการเมือง
who need it most.
กับผู้คนที่ต้องการมันมากที่สุด
and distributive design
และการจัดสรร
for the 21st-century economy.
สำหรับเศรษฐกิจแห่งศตวรรษที่ 21 นี้
Rostow's airplane ride?
เครื่องบินของโรสโทว์ได้อย่างไร
the hope of endless green growth,
ของการเติบโตอย่างต่อเนื่องไม่สิ้นสุด
เมื่อเราทำให้ตัวสินค้าหรือบริการหายไป
while resource use keeps falling.
สามารถดำเนินต่อไปได้แม้ทรัพยากรจะลดลง
This is a flight of fancy.
มันเป็นเพียงเที่ยวบินในจินตนาการ
our economies,
ในเศรษฐกิจต่าง ๆ
cannot be decoupled from resource use
ไม่สามารถแยกจากการใช้ทรัพยากร
within planetary boundaries.
ขอบเขตความสามารถของโลกได้อย่างปลอดภัย
about growth is unfamiliar,
การเติบโตแบบนี้ไม่เป็นที่คุ้นชินนัก
our gardens to grow.
สวนต่าง ๆ เติบโตงอกงาม
is a wonderful, healthy source of life.
เป็นแหล่งชีวิตที่งดงามและสมบูรณ์พูนสุข
like Ethiopia and Nepal today
อย่างเอธิโอเปียและเนปาลทุกวันนี้
at seven percent a year.
ที่ 7 เปอร์เซ็นต์ต่อปี
to the Amazon forest,
หรือป่าแอมะซอน
and they mature,
จนถึงระยะที่เต็มวัยสมบูรณ์
ในระยะยาวนาน
that when something tries to grow forever
เมื่ออะไรสักอย่างพยายามเติบโตไปเรื่อย ๆ
that could buck this trend
political and social innovations
การเมือง และสังคม
this structural dependency on growth,
ในเชิงโครงสร้าง
focus on thriving and balance
กับการความเฟื่องฟูและสมดุล
boundaries of the doughnut.
makes you feel, well, bounded,
ที่ทำให้คุณมีกรอบ
the source of their creativity.
แห่งความสร้างสรรค์ของพวกเขา
จากเปียโนห้าคู่แปด
that unleash our potential.
ที่ปลดปล่อยศักยภาพของเรา
the potential for humanity to thrive
ศักยภาพของมนุษยชาติในการเติบโต
participation, belonging and meaning.
การมีส่วนร่วม ความเป็นเจ้าของ และความหมาย
that we have got to get there,
ของพวกเราทุกคนเพื่อไปให้ถึงจุดนั้น
ABOUT THE SPEAKER
Kate Raworth - Renegade economistKate Raworth is passionate about making economics fit for the 21st century.
Why you should listen
Kate Raworth writes: "I am a renegade economist, dedicated to rewriting economics so that it's fit for tackling the 21st century's grand challenge of meeting the needs of all people within the means of the planet. After 20 years of wrestling with policies based on outdated economic theories -- via the villages of Zanzibar to the headquarters of the UN and on the campaigning frontlines of Oxfam -- I realized that if the economic conversations taking place in parliaments, in boardrooms and in the media worldwide are going to change, then the fundamental economic ideas taught in schools and universities have to be transformed, too.
"I wrote Doughnut Economics: Seven Ways to Think Like a 21st-Century Economist to be the book that I wish I could have read when I was a frustrated and disillusioned economics student myself. And silly though it sounds, it all starts with a doughnut (yes, the kind with a hole in the middle), which acts as a compass for 21st-century prosperity, inviting us to rethink what the economy is, and is for, who we are, and what success looks like."
Kate Raworth | Speaker | TED.com