Carolyn Steel: How food shapes our cities
แคโรลีน สตีล (Carolyn Steel): แคโรลีน สตีล: อาหารก่อร่างสร้างเมืองอย่างไร
Food is a shared necessity -- but also a shared way of thinking, argues Carolyn Steel. Looking at food networks offers an unusual and illuminating way to explore how cities evolved. Full bio
Double-click the English transcript below to play the video.
เวลาที่เราเดินเข้าร้านชำ
ในอีกชั่วโมงข้างหน้า
เมืองใหญ่ขนาดลอนดอน
มาป้อนเมืองได้แบบนี้ทุกวัน
เป็นเรื่องธรรมชาติ
อิงอาศัยพื้นที่ธรรมชาติ
เหมือนที่เห็นอยู่ข้างหลังฉันนี่
ในมาโท กรอสโซ ประเทศบราซิล
ก็เพื่อผลิตอาหารให้เรา
ให้กับพวกเราเท่านั้น
มากขึ้นเป็นสามเท่า
โดยต้องเอาธัญพืชพวกนั้นไปป้อนสัตว์ก่อน
ในการผลิตอาหารให้มนุษย์
ภายในปี ค.ศ. 2050 จำนวนผู้คน
จะมีการเพิ่มขึ้นสองเท่า
ผู้หิวโหยหกพันล้านคน
และถ้ายังเป็นแบบนี้ต่อไป
สิบเก้าล้านเฮกเตอร์ทุกปี
เราก็สูญเสียพื้นที่ในปริมาณเท่ากัน
หรือดินเปลี่ยนเป็นดินเค็ม
ฟอสซิลกันมากด้วย
ในการผลิตอาหาร
ที่เราทุ่มงบเพื่อการผลิต
ถูกโยนทิ้งไป
ของกระบวนการยาวนานนี้
ป้อนคนทั้งโลกได้อย่างเหมาะสม
ในขณะที่อีกพันล้านคนหิวโซ
ของการค้าอาหารระดับโลกในปัจจุบัน
เพียงห้าบริษัท
เราก็ยิ่งอ้าแขนรับอาหารตะวันตก
กับสถานการณ์นี้ได้บ้าง
ดินแดนวงพระจันทร์เสี้ยวไพบูลย์
ดินแดนนี้เป็นรูปพระจันทร์เสี้ยว
ทั้งสองสิ่งต้องการกันและกัน
ให้เราตั้งรกรากได้ถาวร
การตั้งรกรากเป็นไปอย่างไร
พื้นที่การเกษตรที่อุดมสมบูรณ์
วัดที่รวมกลุ่มกันขนาดใหญ่
ก็มีประสิทธิภาพมาก
ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องทางจิตวิญญาณ
ในการเก็บเกี่ยว
นำไปถวายแด่พระเจ้า
มามอบให้ประชาชน
ของเมืองเหล่านี้
พืชพรรณและการเก็บเกี่ยว
ก็เป็นแบบนี้
จะเล็กเท่านี้ทั้งหมด
มีประชากรประมาณหนึ่งล้าน
ผลิตอาหารป้อนตัวเองได้อย่างไร
"การเดินทางของอาหารในยุคโบราณ"
จากที่ไกลแสนไกลได้
ในยุคโบราณ
ทำได้ยากมาก
การขยายตัวของจักรวรรดิ
ทางการทหาร
เลยต้องพูดเรื่องนี้
หอยนางรมจากลอนดอน
มีอีกสิ่งหนึ่ง
ก็เป็นตลาดค้าปลาของลอนดอน
กลางคริสต์ทศวรรษ 1980
ในแถบตะวันตกเฉียงเหนือ
จึงตั้งอยู่แถบด้านบนนี้
ผ่านทางอีสต์แองเกลียแถวนั้น
นักพยากรณ์อากาศเลย
(สัตว์ปีก)
เข้ามาในเมืองบ้าง
ก่อร่างสร้างเมืองได้อย่างไร
ที่ช่วยให้เบาะแสคุณได้มาก
อาจเป็นที่ที่ชาติก่อน
สถานที่ที่เต็มไปด้วยอาหาร
ที่จะอาศัยอยู่ในเมืองแบบนี้
ในวันอาทิตย์
ร้องมอ ๆ หรือแบ๊ะ ๆ
ทุกอย่างก็เปลี่ยนไป
ในปี ค.ศ. 1840
ในยุคแรก ๆ ส่วนหนึ่ง
ไกลความรับรู้เรา
มีความเป็นไปได้
ลักษณะทางภูมิศาสตร์
ผ่านวิธีที่ยากลำบากทางกายภาพ
จากข้อจำกัดทางภูมิศาสตร์
ที่ผลิตอาหารป้อนได้ง่าย
และอะไรพวกนั้น
ผ่านการเดินเท้า
หลังจากรถไฟก็มีรถยนต์
อย่างชัดเจนและโดยสิ้นเชิง
และแน่นอนว่าปราศจากคน
เดินอยู่ในทัศนียภาพแบบนี้
ให้ได้อาหารมาก็คือเข้าไปนั่งในรถ
ที่กินได้ตลอดสัปดาห์
เปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง
ตอนนี้อยู่ชายขอบ
กิจกรรมสำคัญทางสังคม
ทุกวันนี้แค่เติมน้ำ
ถ้าจะทำเค้กอะไรอย่างนั้น
เพื่อเช็คว่ายังกินได้ไหม
เราไม่เชื่อใจอาหาร
เราโยนมันทิ้งไป
ของระบบอาหารสมัยใหม่
ที่ไหนหรือตำแหน่งใดก็ได้
ความสัมพันธ์ที่สำคัญที่สุด
ที่มีแต่พวกเขาเท่านั้นที่ตอบสนองได้
ที่เซอร์โธมัส มอร์ถามตัวเอง
ที่มารวมเข้าด้วยกัน
แต่ละคนต่างวุ่นกับการเกษตร
อะไรทำนองนั้น
ที่เป็นโครงสร้างของยูโทเปีย
"ยูโทเปีย" ที่โด่งดัง
"ขบวนการอุทยานนคร"
คือการรวมตัวกันของนครรัฐอิสระ
มีพื้นที่เพาะปลูกล้อมรอบ
แต่ก็ไม่ได้เกี่ยว
แบบยูโทเปีย
ไตร่ตรองมาแล้ว
เป็นคำภาษากรีกสองความหมาย
หรือที่ที่ไม่มีจริง
เราสร้างขึ้นไม่ได้
ของการดำรงอยู่
"topos" คือสถานที่
เป็นเครื่องมีที่มีอิทธิพล
เพื่อกำหนดทิศทางของโลกให้ต่างออกไป
Sitopia ควรมีหน้าตาอย่างไร
เพราะสุนัขหน้ายิ้มเลย
เพื่อเฉลิมฉลอง
ของอาหารในสังคม
ถ้าไม่มีคนแบบนี้
เราเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย
เราก็จะไม่มีที่แบบนี้
เพราะเป็นผู้ชายซื้อผัก
ตลาดที่อาหารมาจากในท้องถิ่น
และเป็นภูมิทัศน์หนึ่งของเมือง
รวมกันเป็นหนึ่ง
ที่เด็กๆ ได้เรียนรู้
และได้ปลูกกินเอง
หรืออาจเป็น
ฉันก็ไม่รู้
เป็นงานที่สำคัญ
จีงเป็นมุมมอง
ทุกหนทุกแห่ง
การเชื่อมทุกที่เข้าด้วยกัน
ในการมองโลก
เราจะไม่มองเมือง
ไม่มีประโยชน์เช่นนี้
ที่อุดมสมบูรณ์
อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
ต่างฝ่ายต่างได้ประโยชน์
แบบนี้ได้แล้ว
คือภาพเมื่อ 650 ปีที่แล้ว
"อุปมานิทัศน์ของรัฐบาลที่ดี"
ระหว่างเมืองกับชนบท
จะวาดภาพนี้แบบไหน
จะเป็นอย่างไร
เราก็จะเป็นอย่างนั้น
กินอะไรโลกก็จะเป็นแบบนั้น
เราจะใช้อาหาร
ในการก่อร่างโลกนี้ให้ดีขึ้น
ABOUT THE SPEAKER
Carolyn Steel - Food urbanistFood is a shared necessity -- but also a shared way of thinking, argues Carolyn Steel. Looking at food networks offers an unusual and illuminating way to explore how cities evolved.
Why you should listen
The question of how to feed cities may be one of the biggest contemporary questions, yet it's never asked: we take for granted that if we walk into a store or a restaurant, food will be there, magically coming from somewhere. Yet, think of it this way: just in London, every single day, 30 million meals must be provided. Without a reliable food supply, even the most modern city would collapse quickly. And most people today eat food of whose provenance they are unaware.
Architect and author Carolyn Steel uses food as a medium to "read" cities and understand how they work. In her book Hungry City she traces -- and puts into historical context -- food's journey from land to urban table and thence to sewer. Cities, like people, are what they eat.
Carolyn Steel | Speaker | TED.com