Charles Limb: Building the musical muscle
ชาลส์ ลิมบ์ (Charles Limb): การสร้างเสริมกล้ามเนื้อสำคัญของศาสตร์แห่งดนตรี ♫
Charles Limb is a doctor and a musician who researches the way musical creativity works in the brain. Full bio
Double-click the English transcript below to play the video.
ทำไมประสาทสัมผัสของเราจึงพัฒนาขึ้น
เพื่อทำให้เราสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้
การลิ้มรสอาหารที่อร่อยล้ำ
มิใช่ต้องการเพียงแค่สิ่งที่ทำงานได้
ที่จะทำให้มันเอื้อให้เกิดความงดงามได้
ซิมโฟนีหมายเลข 7 ของเบโธเฟน
ให้เป็นคลื่นดล (impulse) ของเหลว
ภายในคอเคลีย (cochlea)
ให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าในเส้นประสาทรับเสียง
หรือความไพเราะของเสียงดนตรีได้
และแปลกมากๆ
ได้เป็นวันๆ
เราได้ยินเสียงทีก่อให้เกิดอารมณ์
ซึ่งอยู่ในส่วนหูชั้นใน
ผมมั่นใจที่จะบอกกับผู้ป่วยของผมว่า
อาจจะไม่ใช่เสียงเดิมอีกต่อไป
สำหรับเด็กที่มีปัญหาด้านการได้ยินมาตั้งแต่เกิด
และยอดเยี่ยมไม่ได้
เมื่อสูญเสียการได้ยิน
คุณไม่ได้พิจารณาที่เยื่อแก้วหูเลยด้วยซ้ำ
คอเคลียเทียมแบบหลายช่อง (multi-channel cochlear)
ขึ้นอยู่กับบริเวณที่ทำงานผ่าตัด
จะถูกสอดใส่ไว้ในคอเคลีย
ศัลยแพทย์ผู้ให้คำปรึกษาของผม
และเป็นผู้ที่ทำการศัลยกรรมให้เธอ
แม่: อีกเล่มหนึ่งเป็นหนังสือหรือบันทึกคะ
แม่:. อ้อ จ๊ะ
ดร จอหฺน: โอเค
ดร จอห์น: น้องสาวของหนูซินะ
เด็กหญิง: น้องสาวของหนู
เท่านี้หนูก็ไม่ได้ยินเสียงอะไรแล้ว
นั่นไม่ใช่เป็นความสำเร็จอย่างท่วมท้น
แสดงออกทางภาษาพูดได้
พวกเขาแทบไม่สามารถได้ยินเสียงดนตรีเลย
ถ้าเสียงไม่เพราะ แล้วคุณจะฟังไปเพื่ออะไรกัน
เป็นพื้นฐานของเสียงดนตรี
(Rachmaninoff's Prelude)
เสียงคู่แปด (octave)
มีการรับรู้ระดับเสียงได้ในระดับกึ่งโทนเสียง
ดนตรีทนต่อการลดระดับเสียงไม่ได้
คุณก็เปลี่ยนมันไปแล้ว
ไม่สามารถบอกความแตกต่างของเสียงที่ใช้เครื่องดนตรีต่างชนิดได้
เครื่องดนตรีทั้งสองให้โน๊ตที่ยาวต่อเนื่อง (sustained instrument)
เหมาะสำหรับการฟังเสียงพูดที่สุด
การควบคุมการได้ยินปกติ
ในการกระตุ้นการได้ยิน
ผู้ใช้ประสาทหูเทียมได้รับจริงๆ
กะโหลกศีรษะเบโธเฟนหน้าตาเป็นอย่างไร
เมื่อเขาเสียชีวิต
ดร. เดวิด รีอุโก (Dr. David Ryugo)
เมื่อเราให้พวกเขามีประสาทหูเทียม
เพื่อตอบสนองต่อเสียงทรัมเป็ตสำหรับอาหาร
ที่จะทำให้เป้าหมายนั้นเป็นจริงได้
ที่จะพัฒนาการได้ยินเสียงดนตรีมีอยู่น้อยมาก
เป็นเวลาสามปีในห้องทดลองของผม
ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นได้เพราะเทคโนโลยีนี้
ไม่ต้องฝังประสาทหูเทียม
การกดแป้นเปียโนให้ถูกจังหวะ
เพราะผมเคยได้ยินเขาร้องคาราโอเกะ
แต่คุณคงต้องการการได้ยินที่สมบูรณ์แบบ
ในการรับรู้ที่ทำให้เกิดความงดงามของประสาทสัมผัส
ABOUT THE SPEAKER
Charles Limb - ResearcherCharles Limb is a doctor and a musician who researches the way musical creativity works in the brain.
Why you should listen
Charles Limb is the Francis A. Sooy, MD Professor and Chief of Otology/Neurotology and Skull Base Surgery at the University of California, San Francisco, and he's a Faculty Member at the Peabody Conservatory of Music. He combines his two passions to study the way the brain creates and perceives music. He's a hearing specialist and surgeon at Johns Hopkins who performs cochlear implantations on patients who have lost their hearing. And he plays sax, piano and bass.
In search of a better understanding of how the mind perceives complex auditory stimuli such as music, he's been working with Allen Braun to look at the brains of improvising musicians and study what parts of the brain are involved in the kind of deep creativity that happens when a musician is really in the groove.
Read our Q&A about hip-hop studies with Charles Limb on the TED Blog >>
Plus our quick catchup Q&A at TEDMED 2011 -- including his top 5 songs of all time >>
Read the 2014 paper "Neural Substrates of Interactive Musical Improvisation: An fMRI Study of ‘Trading Fours’ in Jazz" >>
Charles Limb | Speaker | TED.com