Michael Nielsen: Open science now!
A physicist turned writer, Michael Nielsen believes online communication and collaboration tools are revolutionizing the way we make scientific discoveries. Full bio
Double-click the English transcript below to play the video.
for coming along today.
but does not end,
แต่ยังไม่สิ้นสุด
renowned mathematicians.
ที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลกคนหนึ่ง
of mathematics.
สำหรับคณิตศาสตร์
to pose a very striking question:
เขาเขียคำถามที่น่าขบคิดในบล็อกของเขา
mathematics possible?
ในวงการคณิตศาสตร์จะเกิดขึ้นได้ไหม
unsolved mathematical problem --
เพื่อแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่ยากที่สุด
he would "love to solve" --
"เขาอยากที่จะหาคำตอบให้ได้"
and his partial progress.
และความก้าวหน้าผ่านบล็อกของเขา
that they had an idea to contribute
มีความคิดดี ๆ ที่อยากจะแบ่งปัน
in the comment section of the blog.
ในส่วนความเห็นในบล็อก
the ideas of many minds,
จากคนที่หลากหลาย
of his hard mathematical problem.
ได้ง่ายดายขึ้น
the Polymath Project.
โครงการผู้เชี่ยวชาญ
got off to a slow start.
เริ่มออกตัวอย่างช้า ๆ
nobody posted any comments.
ไม่มีใครมาให้ความเห็นอะไรเลย
from the University of British Columbia
จากมหาวิทยาลัยบริทิชโคลัมเบีย
because a few minutes later,
เพราะเพียงไม่กี่นาทีต่อมา
Jason Dyer posted a suggestion.
ก็ให้คำแนะนำบ้าง
Terence Tao, also a Fields medalist,
ที่ได้รับเหรียญรางวัลเดียวกัน
to move quickly at this point.
800 substantive comments
กว่า 800 ความเห็น
but I was following along closely
แต่ก็ติดตามมันอย่างใกล้ชิด
would be tentatively proposed
by other people and improved,
โดยบุคคลอื่น ๆ
"as driving is to pushing a car."
"เหมือนกับการขับรถไปข้างหน้านั้นแหละ"
that they had solved the core problem;
ประกาศว่าพวกเขาแก้ปัญหาหลักได้แล้ว
generalization of the problem.
ที่ยากกว่าได้แล้วด้วย
suggests, at least to me,
the internet to build tools
ในการสร้างเครื่องมือ
intellectual problems.
อย่างชาญฉลาด
our collective intelligence
ซึ่งเพิ่มพูนสะสมความชาญฉลาดของเรา
we've used physical tools
เครื่องมือทางกายภาพ
มาเป็นสหัสวรรษแล้ว
or what I'd like to explore today,
หรืออยากที่จะอภิปรายในวันนี้
a single mathematical problem.
การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ปัญหาหนึ่ง
of scientific problems
ไปสู่คำตอบทางวิทยาศาสตร์อื่น ๆ
in the rate of scientific discovery.
ในการเพิ่มอัตราการค้นพบทางวิทยาศาสตร์
we construct knowledge itself.
ที่เราจะสร้างองค์ความรู้
about some of the challenges,
a failure of this approach.
ถึงความผิดพลาดของแนวทางนี้
John Stockton had a very good idea
นามว่า จอห์น สต๊อคตัน มีความคิดเจ๋ง ๆ
was going to be a great repository
มันจะเป็นคลังขนาดใหญ่
on general knowledge,
กับความรู้โดยทั่วไป
specialist knowledge in quantum computing.
ความรู้จำเพาะด้านควอนตัมคอมพิวเตอร์
a supertextbook for the field,
หนังสือตำรายักษ์สำหรับวิทยาการสายนี้
all the latest research,
in the field were,
ในวิทยาการสายนี้
about how to solve the problems,
that it would be written by the users,
จะเป็นผู้ที่เข้ามาใช้
in quantum computing.
ในวงการควอนตัมคอมพิวเตอร์
in 2005, when it was announced.
เมื่อปี ค.ศ. 2005
were very skeptical,
were very excited by the idea.
of initial seed material
ปริมาณของบทความตั้งต้น
they were excited by the vision.
พวกเขาตื่นเต้นกับวิศัยทัศน์นั้น
to take the time themselves to contribute.
พวกเขาต้องการสละเวลาให้ความร่วมมือ
in contributing.
except in a few small corners,
this is quite a common story.
นี่เป็นเรื่องราวที่พบได้บ่อย ๆ
from genetics to string theory,
ในวงการตั้งแต่พันธุศาสตร์จนทฤษฎีสตริง
along very similar lines.
ในแนวทางเดียวกัน
for essentially the same reason.
ด้วยเหตุผลหลัก ๆ เดียวกัน
social networks for scientists,
เครือข่ายออนไลน์สำหรับนักวิทยาศาสตร์
to other people with similar interests.
กับคนอื่น ๆ ที่มีความสนใจร่วมเข้าด้วยกัน
or code, their ideas and so on.
ข้อมูล รหัส แนวคิด อะไรแบบนั้นได้
that they're essentially empty.
พวกมันช่างว่างเปล่า
What's the problem here?
มีปัญหาอะไรอย่างนั้นหรือ
an ambitious young scientist.
ถ้าคุณเป็นนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ไฟแรง
are ambitious young scientists.
เป็นนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่
an ambitious young scientist.
นักวิทยาศาสตร์ไฟแรงอย่างคุณ
a permanent job, a good job --
งานประจำ งานดี ๆ
to get such jobs.
ก็สูงมาก
highly qualified applicants for positions.
หลักร้อย มาสมัครงานตำแหน่งเดียวกัน
60, 70, 80 hours a week,
60, 70, 80 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
will get you such a job,
มันจะทำให้คุณได้งาน
is a wonderful idea in principle,
เป็นแนวคิดที่ยอดเยี่ยมมากในหลักการ
a single mediocre paper
การเขียนบทความวิทยาศาสตร์ธรรดา ๆ
and your job prospects
contributions to such a site.
อย่างต่อเนื่องยาวนานกับเว็บไซต์พวกนั้น
science more quickly,
ให้วิทยาศาสตร์รุดหน้าได้รวดเร็วกว่า
as being part of your job.
มาเป็นส่วนหนึ่งของอาชีพการทำงานได้
in this kind of environment
ได้ในสิ่งแวดล้อมแบบนี้
an unconventional means to an end,
ให้บรรลุซึ่งเป้าหมาย
conservatism about them.
ที่เป็นไปตามธรรมเนียมเดิมอยู่
was still a scientific paper.
ยังคงเป็นบทความทางวิทยาศาสตร์
สองสามชิ้น
but conventional ends.
แต่ให้ผลลัพธ์ที่ยังคงธรรมเนียมเดิม
conservatism about it.
the Polymath Project is terrific,
โครงการผู้เชี่ยวชาญนั้นยอดเยี่ยม
can only use tools
ที่นักวิทยาศาสตร์สามารถใช้เครื่องมือได้
conservative nature.
about an instance
from this conservatism.
ออกจากวิธีแบบดั้งเดิม
the conservatism has been broken.
ที่ธรรมเนียมดั้งเดิมจะถูกทลายลง
when, as you know,
large amounts of genetic data
นำข้อมูลทางพันธุกรรมปริมาณมหาศาล
to upload that data
ใส่ข้อมูลเข้าไป
with other people around the world
ให้กับคนอื่น ๆ ทั่วโลก
is the site GenBank,
น่าจะเป็น ยีนแบงค์
have heard of or used.
อาจเคยได้ยินหรือใช้มาแล้ว
that scientists -- they're not paid
นักวิทยาศาสตร์ไม่ได้รับเงินสนับสนุน
การตีพิมพ์บทความวิทยาศาสตร์
to actually upload the data.
จึงเกิดขึ้นไม่น้อย
that this was silly --
นี่มันไร้สาระ
was the right thing to do.
ว่านี่เป็นสิ่งที่ควรทำ
were actually doing it.
in Bermuda in 1996
ที่เบอร์มิวดา ในปี ค.ศ. 1996
molecular biologists.
เข้าร่วมมากมาย
the problem for several days,
ถึงปัญหาดังกล่าวเป็นเวลาสองสามวัน
called the Bermuda Principles,
หลักการเบอร์มิวดา
is taken in the lab,
ถูกนำไปใช้ในห้องทดลอง
would be in the public domain.
จะต้องอยู่ในโดเมนสาธารณะ
scientific grant agencies --
the UK Wellcome Trust --
และ เวลคัม ทรัส ของอังกฤษ
who wanted to work on the human genome,
ที่ต้องการทำงานด้านจีโนมมนุษย์
by these principles.
หลักการเหล่านี้
to say, as a result,
ที่จะบอกว่า ผลลัพธ์ที่ออกมาก็คือ
and download the human genome.
ดาวโหลดจีโนมมนุษย์ได้
is just a tiny, tiny fraction
เป็นเพียงส่วนเล็ก ๆ ส่วนหนึ่ง
that is still locked up.
ที่ยังไม่ได้ถูกปลดปล่อยออกมา
on the genome of an entire species
กับจีโนมของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง
hoard their data.
ที่กักตุนข้อมูล
that they write
ที่พวกเขาเขียน
potentially, to other people.
the descriptions of the problems
แม้แต่คำอธิบายของประเด็นคำถาม
in the Open Science movement
ในขบวนการเปิดโลกวิทยาศาสตร์
the culture of science
ในวงการวิทยาศาสตร์
much more strongly motivated
different kinds of knowledge.
of individual scientists
ของนักวิทยาศาสตร์แต่ละคน
as part of their job
มันเป็นส่วนหนึ่งของอาชีพ
to be sharing their code,
ในการแบ่งปันรหัส
and their problems.
และคำถามทางวิทยาศาสตร์
this kind of change in values,
การเปลี่ยนแปลงค่านิยมนี้
individual scientists rewarded
นักวิทยาศาสตร์ได้รับผลตอบแทน
of entire large parts of science.
ของโลกวิทยาศาสตร์ทั้งวงการ
before once in history,
ครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์
up at the sky towards Saturn,
หันกล้องโทรทรรศน์ไปยังดาวเสาร์
in the description into an anagram,
to several of his astronomer rivals.
นักดาราศาสตร์คู่แข่งทั้งหลาย
if they later make the same discovery,
ถ้าหากคนอื่นค้นพบสิ่งเดียวกัน
and get the credit,
และอ้างสิทธิการค้นพบได้
any knowledge at all.
เขาก็ไม่ได้แบ่งปันให้ความรู้ใด ๆ
not uncommon at the time:
เรื่องแบบนี้เป็นเรื่องปกติในยุคของเขา
they all used similar devices.
พวกเขาก็ทำแบบเดียวกัน
for 150 years by this time.
ก็ถือกำเนิดมาได้ 150 แล้ว
in the 17th and 18th centuries
ในศตวรรษที่ 17 และ 18
that when a scientist made a discovery,
ว่าเมื่อใดที่นักวิทยาศาสตร์ทำการค้นพบ
has happened. It's terrific.
ที่การเปลี่ยนแปลงได้เกิดขึ้น
to share our knowledge in new ways
ที่จะแบ่งปันความรู้ด้วยวิธีการใหม่
to solve problems in entirely new ways.
หาคำตอบในวิธีการใหม่ได้
open science revolution.
เพื่อเปิดโลกวิทยาศาสตร์
should be open science.
ควรเป็นการเปิดโลกวิทยาศาสตร์
many of you are not scientists,
แม้ว่าพวกคุณหลายคนจะไม่ใช่
in an open science project,
ในโครงการเปิดโลกวิทยาศาสตร์
fraction of your time.
การสละเวลาของคุณเพียงเล็กน้อย
your knowledge in new ways,
ในแบบใหม่ได้
to build on that knowledge.
ต่อเติมจากรากฐานความรู้นั้น
ได้ด้วยตัวเอง
you may wish to experiment
คุณอาจอยากลองทดลอง
as the Polymath Project did.
กับที่โครงการผู้เชี่ยวชาญเคยทำ
is be very generous in giving credit
คือความเอื้อเฟื้อในการอ้างอิง
who are practicing science in the open
ที่มีสร้างสรรค์วิทยาศาสตร์สาธารณะ
the sharing of data, the blogging,
การแบ่งปันข้อมูล การเขียนบล็อก
colleagues in conversation
ที่ยังยึดแนวปฏิบัติดั้งเดิม
of these new ways of working,
to do these things,
มันต้องใช้ความกล้าหาญในการทำสิ่งนี้
โดยนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่
the culture of science can be changed.
ก็ด้วยวิธีการแบบดั้งเดิมนี่แหละ
important thing that we can do
amongst the population
ให้กับประชาชน
and of its critical importance.
และความสำคัญยิ่งของมัน
will inevitably find --
ก็เลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องหาวิธี
by the population at large
and acquaintances who are scientists
และนักวิทยาศาสตร์ที่รู้จัก
what are they doing to work more openly.
ให้วิทยาศาสตร์เข้าถึงง่ายขึ้น
and your personal power
และพลังส่วนบุคคล
not just what scientists do
สิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ทำเท่านั้น
and what governments do.
กับคำถามที่สำคัญ
are we going to expect
จะแบ่งปันกัน
as we have done in the past?
for solving problems
ในการหาคำตอบ
in the process of science,
embrace open science
วิทยาศาสตร์แบบสาธารณะ
this opportunity that we have
ABOUT THE SPEAKER
Michael Nielsen - PhysicistA physicist turned writer, Michael Nielsen believes online communication and collaboration tools are revolutionizing the way we make scientific discoveries.
Why you should listen
A Fulbright scholar, Michael Nielsen not only made significant research contributions in the field of quantum physics, but also co-wrote the popular Quantum Computation and Quantum Information. He left academia to focus his research on “open science,” and recently published Reinventing Discovery: The New Era of Networked Science -- a book that discusses the Internet’s ability to “amplify our collective intelligence” and the cultural obstacles of the scientific community impeding this dramatic shift.
Michael Nielsen | Speaker | TED.com