Lisa Nip: How humans could evolve to survive in space
ลิซา นิพ (Lisa Nip): มนุษย์จะปรับตัวต่อการอาศัยในอวกาศได้อย่างไร
Lisa Nip's work focuses on how we can use synthetic biology to allow humanity to explore space Full bio
Double-click the English transcript below to play the video.
few and far between on Earth itself
บนโลกของเราใบนี้
by any measure,
their homes and livelihood endangered,
เมื่อพวกเขาพบบ้านและแหล่งอาศัย
into unfamiliar territories
ยังพื้นที่ซึ่งไม่เป็นที่คุ้นเคย
ของนักสำรวจเหล่านั้น
coursing through our own veins.
ไหลอยู่ในเส้นเลือดของพวกเรา
และความอลหม่าน
that we have waged on each other,
ที่เราได้เดิมพันกันและกัน
this desire to explore.
ความปรารถนาในการสำรวจ
เราวิวัฒนาการมาอย่างมีอัตลักษณ์
with our living conditions
and just too busy
ก็ค่อย ๆ เพิ่มพูน และเราก็ยุ่ง
มีอยู่อย่างจำกัด
made in its name
ที่เกี่ยวข้องกับมัน
the ethos for space travel,
พื้นฐานของการเดินทางไปในอวกาศ
that our species' fragile constitution
โครงสร้างที่เปราะบางของสายพันธุ์เรา
for long duration journeys into space.
การเดินทางอันยาวไกลในอวกาศเลย
to your local national forest
ในอุทยานป่าไม้ในท้องถิ่นของคุณดู
to survive in this lush wilderness
มีชีวิตรอดในป่าเขียวชะอุ่มนี้ได้
that this local national forest
อุทยานป่าไม้ในท้องถิ่นที่ว่านี้
would be able to survive for a few days?
จะมีชีวิตรอดสักสองสามวันได้บ้างคะ
that the only source of water available
ถ้าแหล่งน้ำแห่งเดียวที่มีอยู่
miles below the surface.
ลึกลงไปหลายไมล์ในพื้นดิน
that no vegetation can be found,
จนเราไม่พบพืชผักอะไรเลย
exists to speak of.
ชั้นบรรยากาศอะไรเลย
of the many challenges we would face
บางความท้าทายที่เราจะต้องเผชิญ
whose destinations are so far removed
เพื่อที่จะเดินทางไกล
from Planet Earth?
อย่างนั้นหรือ
or impossible miles of transport belts
หรือสายพานการส่งที่ยาวมาก ๆ
to our home planet?
ไว้กับดาวบ้านเกิดของเรา
that grew up on Earth like us?
อย่างที่เราปลูกบนโลกอย่างไรล่ะ
to find a new home under a new sun,
เพื่อหาบ้านใหม่ภายใต้ดวงอาทิตย์ดวงนี้
going to be spending much time
ที่หน้าตาเหมือนกระป๋องปิดตาย
that any human has spent in space
in a microgravity environment
cardiovascular problems,
เกิดปัญหาหลอดเลือดหัวใจ
to the psychological.
in gravitational pull
ที่เกี่ยวข้องกับแรงโน้มถ่วง
will be fraught with dangers
จะเต็มไปด้วยภยันตรายต่าง ๆ
new piece of mechanical technology
เทคโนโลยีใหม่ทางกลศาสตร์
our species safe passage in space.
ต่อการเดินทางในอวกาศของเรา
I believe the time has come
ฉันเชื่อว่ามันถึงเวลาแล้ว
these bulky electronic giants
a self-generating, self-replenishing,
สามารถเจริญเติบโต สมบูรณ์ได้ด้วยตัวเอง
ในการมีชีวิตอยู่
in a single plastic tube.
อย่างเช่นในหลอดพลาสติก
to utilize the capabilities of the microbe
ใช้คุณสมบัติของจุลชีพได้
which has given us antibiotics, vaccines
วิชาชีวโมเลกุล ซึ่งทำให้เรามียาปฏิชีวนะ วัคซีน
the physiological nuances
ความแตกต่างเล็กน้อยในทางกายวิภาค
of nearly any organism,
ได้ในสิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิด
of our man-made machines,
to engineer not only our food,
ไม่เพียงแต่อาหารของเรา
for our physical inadequacies
ทางกายภาพของเรา
for space exploration,
ในการพัฒนาการสำรวจอวกาศ
to that of Hawaiian volcanic ash,
คล้ายกับเถ้าถ่านภูเขาไฟในฮาวาย
could actually support plant growth
สามารถที่จะค้ำจุนให้พืชเจริญเติบโตได้จริง ๆ
ที่ถูกดัดแปลงให้เหมือนของโลก
we should probably ask is,
our plants cold-tolerant?
ทนต่อความหนาวเย็นได้อย่างไร
the temperature on Mars
อุณหภูมิของดาวอังคาร
negative 60 degrees centigrade.
ซึ่งไม่ค่อยจะเป็นมิตรเท่าไร
our plants drought-tolerant?
that forms as frost
น้ำส่วนใหญ่ที่อยู่ในรูปของน้ำแข็ง
than I can say the word "evaporate."
"ระเหย" เสียอีก
we've already done things like this.
เราได้ทำสิ่งเหล่านี้แล้ว
for anti-freeze protein from fish
มาจากปลา
from other plants like rice
จากพืชอย่างเช่นข้าว
into the plants that need them,
ที่ต้องการสิ่งเหล่านี้
most droughts and freezes.
และทนการเยือกแข็งที่รุนแรงที่สุดได้
all the mouths of human civilization.
ในการป้อนปากท้องของมนุษยชาติ
more precise ways to do it.
อย่างแม่นยำเท่านั้นเอง
the genetic makeup of plants for space?
ให้เหมาะกับอวกาศด้วย
would mean needing to engineer
นั่นก็หมายความว่า เราจะต้องทำการวิศวกรรม
on an entirely new planet
of atmospheric gasses
เป็นล้านล้านแกลลอน
a giant glass dome to contain it all.
เพื่อครอบมันเอาไว้
ที่ไม่สมเหตุสมผลในความเป็นจริง
a high-cost cargo transport mission.
ที่มีราคาแพงไปอย่างรวดเร็ว
and the air that we need
และอากาศที่เราต้องการ
that have been engineered
ที่ได้รับการดัดแปลงพันธุกรรม
ที่โหดร้าย ไปกับเราด้วย
to help us terraform a planet
ช่วยทำให้เราปรับบรรยากาศดาวเคราะห์
be engineered to make medicine or fuel.
ถูกดัดแปลงพันธุกรรมเพื่อผลิตยาหรือเชื้อเพลิง
to bring highly engineered plants with us,
เพื่อนำพืชที่ได้รับการวิศวกรรมไปกับเรา
that we, as a species,
ว่าในฐานะที่เราเป็นสายพันธุ์หนึ่ง
in the last five minutes
ภายในห้านาทีที่ผ่านมา
and I was standing there.
any of us on Mars right this minute,
ในตอนนี้เลย
very unpleasant health problems
ที่ไม่น่าจะดีสักเท่าไร
that bombards the surface
or nonexistent atmosphere.
ที่ชั้นบรรยากาศเบาบางหรือไม่มีเลย
to stay holed up underground
ที่จะอยู่ในโพรงโต้ดิน
on every new planet,
อยู่บนดาวเคราะห์ดวงใหม่ทุกดวง
of protecting ourselves
ที่จะป้องกันตัวเอง
to wearing a suit of armor
ที่จะต้องใส่เกราะหรือชุดอวกาศ
equal to your own body weight,
ที่จะต้องหลบอยู่หลังกำแพงตะกั่ว
to nature for inspiration.
จากธรรมชาติกัน
known as extremophiles,
ที่เป็นที่รู้จักกันในชื่อ เอ็กซ์ตรีโมไฟย์
อยู่ในสถานที่ที่มีความรุนแรง
from high school biology.
ตอนชั้นมัธยมปลาย
by the name of Deinococcus radiodurans.
ก็มีแบคทีเรีย ดีอิโนคอคคัส เรดิโอดูราน
dehydration, vacuum, acid,
การเสียน้ำ ภาวะสุญญากาศ กรด
tolerance mechanisms are known,
the relevant genes to mammals.
ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งนี้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
that go into its radiation tolerance,
ที่ส่งผลต่อการทนต่อรังสี
as transferring one gene.
เหมือนกับการถ่ายยีนเพียงยีนเดียว
มันก็ไม่ได้ยากเกินไปถ้าจะทำ
of its ability to tolerate radiation,
ที่มีความสามารถในการทนต่อรังสี
than what we already have,
radiodurans' ability
ของ ดีอิโนคอคคัส
very lethal doses of radiation.
humans like Tibetans,
อย่างมนุษย์ชาวทิเบต
ต่อสภาวะที่มีออกซิเจนน้อยได้
who can ingest and metabolize arsenic,
สามารถบริโภคและกำจัดสารหนู
that can kill the average human being.
by accidental mutations
โดยการกลายพันธุ์ที่เกิดโดยบังเอิญ
allow certain humans
that we may not always have,
ที่เราอาจไม่มีเสมอไป
to find our place in the universe,
ที่จะหาที่อยู่ในเอกภพ
of extra functions
เพื่อให้ได้มาซึ่งความสามารถเพิ่มเติม
has termed the age of gene circumvention,
ได้ให้ชื่อว่า เป็นยุคของการหลบหลีกยีน
like cystic fibrosis or muscular dystrophy
อย่างซิย์สติกไฟโบรซิส หรือกล้ามเนื้อที่ผิดปกติ
of volitional evolution,
ของการวิวัฒนาการอย่างจงใจ
for ourselves our own genetic destiny.
เราจะมีพันธุรรมของเราอย่างไร
with new abilities
ให้กับร่างกายมนุษย์
ว่ามันจะทำได้อย่างไร
of any living organisms,
ของสิ่งมีชีวิตใดสิ่งมีชีวิตหนึ่ง
and ethical quandaries.
ทางศีลธรรมและจริยธรรม
make us less human?
ทำให้เป็นมนุษย์น้อยลงหรือเปล่า
that happens to be conscious?
ที่เผอิญมีสติสัมปะชัญญะหรือเปล่า
ให้ตัวเองไปในทิศทางใด
to sit back and marvel at it.
ถ้าจะมัวแต่นั่งชื่นชมมันไปวัน ๆ
from the external dangers
จากอันตรายภายนอก
จากตัวเราเองได้อย่างไร
ต่อวิทยาศาสตร์
the many possibilities
เกี่ยวกับโอกาสต่าง ๆ
and continues to afford us.
และกำลังจะให้กับเราต่อไป
to discuss and embrace the solutions
เพื่อหารือและหาคำตอบ
is the line we must cross
ที่เราจะต้องข้ามไป
of our species' improbable intelligence.
และควรทำอะไรได้บ้างกับปัญญาของเรา
และไม่เป็นมิตร
will be rife with trials
จะต้องพบกับการทดสอบ
not only who we are
ไม่เพียงแต่ว่าเราเป็นใคร
to use or abandon the technology
ในการใช้หรือไม่ใช้เทคโนโลยีของเรา
of our term in this universe.
ในเอกภพนี้
ABOUT THE SPEAKER
Lisa Nip - Synthetic biologistLisa Nip's work focuses on how we can use synthetic biology to allow humanity to explore space
Why you should listen
Lisa Nip is a Ph.D. candidate at the MIT Media Lab's Molecular Machines group. She uses her training in biochemistry and biotechnology to translate synthetic biology into real-world applications. She spends much of her time concocting biological solutions to long-duration space travel and works to make them a reality.
Nip was trained as a biochemist at Boston University, and previously did research in the Douglas Lab at UCSF and the Church Lab in the Wyss Institute for Biologically Inspired Engineering at Harvard Medical School.
Lisa Nip | Speaker | TED.com