Sangeeta Bhatia: This tiny particle could roam your body to find tumors
แซนกีทา บฮ์าเทีย (Sangeeta Bhatia): อนุภาคเล็กกระจิ๊ดริดนี้อาจตระเวนไปในร่างกายคุณเพื่อค้นหาเนื้องอกได้
Sangeeta Bhatia is a cancer researcher, MIT professor and biotech entrepreneur who works to adapt technologies developed in the computer industry for medical innovation. Full bio
Double-click the English transcript below to play the video.
to house one transistor,
ทรานซิสเตอร์ 1 ตัว
เป็นพันล้านเครื่อง
the size of an entire room
ซึ่งแต่ก่อนมีขนาดเท่ากับห้อง
อนาคตนั้นจะมีขนาดเล็ก
revolution in computers.
การปฏิวัติขนาดคอมพิวเตอร์ให้เล็กลง
to reduce the number of lives lost
เพื่อลดจำนวนการเสียชีวิต
diseases on Earth:
อย่างรวดเร็วบนโลกนี้ได้หรือไม่
is that we're working on curing cancer.
เรากำลังพยายามหาทางรักษาโรคมะเร็ง
opportunity to save lives
ที่จะรักษาชีวิตไว้ได้
and prevention of cancer.
และการป้องกันมะเร็งแต่เนิ่น ๆ
due to cancer are fully preventable
จากโรคมะเร็งนั้นป้องกันได้อย่างเต็มที่
have in hand today.
การตรวจพบให้ทันเวลา
and technologies that we have today,
ที่ดีที่สุด ที่เรามีอยู่ในปัจจุบัน
ก็ไม่สามารถถูกตรวจพบได้
they've started growing,
หลังจากที่มันเริ่มโตขึ้นมา
cancer cells strong.
จำนวนมากถึง 50 ล้านเซลล์
deadly cancers sooner,
บางชนิดเหล่านี้ ได้เร็วกว่านี้
จะเป็นอย่างไร
miniaturization might get us there.
อาจพาเราไปยังจุดนั้นได้อย่างไร
ในห้องทดลองทั่ว ๆ ไป
for looking at a tissue specimen,
เพื่อดูตัวอย่างเนื้อเยื่อ
หรือ การตรวจแปปสเมียร์
ราคา 7,000 ดอลลาร์ นี้
with years of specialized training
ที่ถูกฝึกฝนเฉพาะทางมานานหลายปี
of mine at Rice University,
ที่มหาวิทยาลัยไรซ์ (Rice University)
is miniaturize that whole microscope
ทำให้กล้องจุลทรรศน์มีขนาดเล็กลง
of an optical fiber.
กับปลายของเส้นใยนำแสง
of taking a sample from a patient
แทนที่จะเอาตัวอย่างมาจากผู้ป่วย
to the patient.
ไปยังผู้ป่วยได้
a specialist to look at the images,
เพื่อดูภาพทั้งหลาย
normal versus cancerous cells.
ให้เปรียบเทียบเซลล์ปกติกับเซลล์มะเร็ง
working in rural communities,
ขณะที่ทำงานในชุมชนชนบทนั้น
a mobile screening van
and perform exams
และทำการตรวจได้
hospital for analysis,
เพื่อทำการวิเคราะห์
with an abnormal test result
แจ้งผลการตรวจที่ผิดปกติ
because they can't afford the trip.
เพราะไม่มีเงินสำหรับการเดินทาง
and computer analysis,
ด้วยคอมพิวเตอร์รวมอยู่ด้วยกัน
have been able to create a van
ก็สร้างรถบรรทุก
and a treatment setup.
และการรักษา
is that they can do a diagnosis
พวกเขาสามารถวินิจฉัย
miniaturization can save lives.
ขนาดเล็กลงสามารถรักษาชีวิตไว้ได้อย่างไร
as straight-up miniaturization.
เล็กลง แบบตรงไปตรงมา
and you made it little.
และก็ทำให้มันเล็ก
เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
for us to take them everywhere.
เอามันไปได้ในทุก ๆ ที่
equivalent like that in medicine?
ในทางการแพทย์
circulate in your body,
อยู่ในร่างกายของคุณได้
like science fiction.
allows us to do just that.
ทำให้เราทำอย่างนั้นได้จริง
the parts that make up the detector
ส่วนที่ประกอบกันเป็นเครื่องตรวจจับ
actually change their properties
คุณสมบัติที่เปลี่ยนแปลงไป
into gold nanoparticles,
จนเป็นอนุภาคนาโนทองคำ
gold to looking red.
กลับดูเป็นสีแดง
like cadmium selenide --
อย่างเช่น แคดเมี่ยม ซีลีไนด์ --
out of this material
yellow, orange, red,
เขียว เหลือง ส้ม แดง
like that in the macro world?
ในโลกขนาดจิ๋วสิคะ
in your closet are all made of cotton,
ในตู้เสื้อผ้าคุณ ทำมาจากผ้าฝ้าย
depending only on their size.
ขึ้นอยู่กับขนาดของมัน
the color of materials
in your body also changes.
ในร่างกายของคุณ ก็เปลี่ยนไปด้วย
that we're going to use
ที่เรากำลังจะใช้
มันหมายความว่าอย่างไร
into the blood vessel
เข้าไปในหลอดเลือด
from the bloodstream into the tumor.
หลอดเลือดเข้าไปในเนื้องอกได้อย่างไร
of many tumors are leaky,
เนื้องอกหลายชนิดมีจุดที่รั่วซึม
from the bloodstream into the tumor.
ออกจากกระแสเลือดไปยังเนื้องอกได้
depends on their size.
อยู่กับขนาดของมัน
blue nanoparticles are leaking out,
ที่มีขนาดเล็กกว่า กำลังซึมออกมา
red nanoparticles
ห้าร้อยนาโนมิเตอร์ ที่มีขนาดใหญ่กว่า
or small I make a material,
ให้มีขนาดใหญ่หรือเล็กแค่ไหน
จะให้มันไปยังส่วนไหนในร่างกายคุณ
a cancer nanodetector
เราได้ทำเครื่องตรวจจับมะเร็งนาโน
into the body and look for tumors.
เข้าไปอยู่ในร่างกายและค้นหาเนื้องอกได้
for tumor invasion:
การลุกลามของเนื้องอก กล่าวคือ
that tumors need to make to spread.
จำเป็นต้องสร้างเพื่อการแพร่กระจาย
of the tissue that it's born in,
ที่เป็นต้นกำเนิดมันนั้น
the scaffolding of tissues.
โครงสร้างของเนื้อเยื่อ
to be activated by these enzymes.
ให้ถูกกระตุ้นได้ด้วยเอ็นไซม์
of these chemical reactions in an hour.
ปฏิกริยาเคมีเป็นพัน ๆ ครั้งใน 1 ชั่วโมง
that one-to-a-thousand ratio
อัตราส่วนหนึ่งต่อพัน
cancer detector.
ที่มีความไวสูงขึ้นมา
signal to the outside world,
ออกไปนอกร่างกาย
ได้อย่างไร
one more piece of nanoscale biology,
ชีววิทยาระดับนาโนกันอีกชิ้นหนึ่ง
and put waste into the urine.
ออกจากเลือดลงไปในปัสสาวะ
than five nanometers
through the kidney, into the urine,
เข้าไปในปัสสาวะ
that's bigger is retained.
ที่ใหญ่กว่านั้นยังคงถูกเก็บกักไว้
cancer detector,
100 นาโนมิเตอร์ขึ้นมา
where it's activated by tumor enzymes
ได้ด้วยเอนไซม์ของเนื้องอก
filtered out of the kidney
that I can detect.
ที่ฉันสามารถตรวจจับได้
that we designed as engineers.
ในฐานะที่เราเป็นวิศวกร
and we can design them
และเราสามารถออกแบบมันได้
with our tool of choice.
sensitive, fancy instrument
ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ซับซ้อน
with a unique mass.
that's more inexpensive and portable.
ที่ราคาไม่แพงและพกพาได้
that we can trap on paper,
ที่เราสามารถกักไว้บนกระดาษได้
world of paper tests
มีการทดสอบบนกระดาษอยู่มากมาย
in a field called paper diagnostics.
การวินิจฉัยโดยกระดาษ
จะนำเราไปทางไหนหรือ
to keep us pushing forward,
เพื่อผลักดันให้เราไปข้างหน้า
cancer researchers.
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง -- นักวิจัยมะเร็ง
will happen with my technology,
ว่าจะเกิดขึ้นกับเทคโนโลยีของฉัน
our hearts and souls
an expensive screening facility
เครื่องมือตรวจราคาแพง
ประจำอยู่ในห้อง
on a smartphone.
ภาพบนสมาร์ทโฟน
have this working in mice,
เราทำสิ่งนี้สำเร็จแล้วในหนู
than existing methods
colon and ovarian cancer.
มะเร็งลำไส้ใหญ่ และมะเร็งรังไข่
detect tumors in patients
ตรวจพบเนื้องอกในผู้ป่วย
after they've started growing,
หลังจากที่มันเริ่มเกิดขึ้นมา
to earlier treatments,
จะนำไปสู่การรักษาแต่เนิ่น ๆ
than we can today,
มากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
ABOUT THE SPEAKER
Sangeeta Bhatia - Physician, bioengineer and entrepreneurSangeeta Bhatia is a cancer researcher, MIT professor and biotech entrepreneur who works to adapt technologies developed in the computer industry for medical innovation.
Why you should listen
Trained as both a physician and engineer at Harvard, MIT, and Brown University, Sangeeta Bhatia leverages 'tiny technologies' of miniaturization to yield inventions with new applications in tissue regeneration, stem cell differentiation, medical diagnostics, predictive toxicology and drug delivery. She and her trainees have launched more than 10 biotechnology companies to improve human health.
Bhatia has received many honors including the Lemelson-MIT Prize, known as the 'Oscar for inventors,' and the Heinz Medal for groundbreaking inventions and advocacy for women in STEM fields. She is a Howard Hughes Medical Institute Investigator, the Director of the Marble Center for Cancer Nanomedicine at the Koch Institute for Integrative Cancer Research and an elected member of the National Academy of Engineering, the American Academy of Arts and Science and Brown University's Board of Trustees.
Sangeeta Bhatia | Speaker | TED.com