Jonathan Foley: The other inconvenient truth
โจนาธาน โฟลีย์ (Jonathan Foley): ความจริงอีกอย่างที่ไม่มีใครอยากฟัง
Jonathan Foley studies complex environmental systems and their affects on society. His computer models have shown the deep impact agriculture is having on our planet. Full bio
Double-click the English transcript below to play the video.
อาหาร และสิ่งแวดล้อม
ความจริงอีกอย่างที่ไม่มีใครอยากฟัง
เมื่อคุณมองจากอวกาศในเวลากลางคืน
สิ่งที่คุณจะสังเกตเห็นเป็นอย่างแรก
เรามองเห็นพื้นที่ขุดเจาะน้ำมัน
คือภูมิประเทศของเรา
ที่เรียกว่า รอนโดเนีย
ของประเทศบราซิล
ก็คือพื้นที่ป่าฝนเล็ก ๆ ที่ถูกแผ้วถาง
พวกมันไม่ได้จะถูกส่งมาที่นี่
ในประเทศแถบภูมิอากาศร้อนชื้น
ในเขตป่าแอมะซอน
คือไร่ถั่วเหลือง
โดยเฉพาะหลังจากที่มีการระบาดของโรควัวบ้า
ตอนที่เราไม่ต้องการเลี้ยงสัตว์
เพราะมันทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคได้
ความสัมพันธ์ที่แปลกอย่างเหลือเชื่อ
ครั้งแล้วครั้งเล่า
เพื่อใช้ในการเพาะปลูกอาหาร
ในการเพาะปลูกอาหาร
และมันหมายความว่าอะไร
หรืออะไรก็ตามแต่
แล้วมันก็เป็นพื้นที่ที่ดีที่สุดนี้
พื้นที่ประมาณร้อยละ 40
และเมืองใหญ่ที่มีประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่
ถูกใช้ในการเพาะปลูกอาหาร
พวกมันอาจจะถูกวางขาย
ในวันปกติในช่วงยุค 1950
มันมีหน้าตาแบบนี้
ในสถานการณ์ปกติ
การทำชลประทานในทะเลทรายเพื่ออาหาร
แล้วแต่คุณจะคิด
เรากำลังสูบน้ำ
ถ้าคุณเดินตามแม่น้ำโคโรลาโดลงใต้
ไม่เพียงพอที่จะไหลออกสู่มหาสมุทรเลย
จากคาบเรียนวิชาภูมิศาสตร์
ที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก
เพราะอาจดูเหมือนว่า
ทำไมถึงมีทะเลอยู่ที่นี่ได้
แล้วมันก็เดินทางลงมายังแม่น้ำ
สหภาพโซเวียตตัดสินใจที่จะผันน้ำ
เพื่อใช้ในการชลประทานสำหรับการปลูกฝ้าย
แล้วจะเกิดอะไรขึ้น
ในเขตมิดเวสท์
นี่เป็นความเปลี่ยนแปลงระดับรากฐาน
ไม่น่าพิศมัยเท่าไหร่
ที่ตอนนี้กำลังถูกส่งขึ้นมาสู่อากาศ
ที่เคยพบได้เฉพาะที่ทะเลอารัล
ประมาณนั้น ที่จะนำเรือไปยัง
แต่ท้ายสุดพวกเขาก็ต้องตัดใจ
แต่ผมเกรงว่าในอนาคต
แล้วเขียนเรื่องราว
"พวกคุณคิดอะไรกันเนี่ย"
และเกษตรกรรมเพียงอย่างเดียว
พื้นที่จำนวนมากเพื่อการเกษตร
เพื่อการเกษตรเช่นกัน
และก๊าซเรือนกระจก
ที่มาจากการใช้ปุ๋ยที่เกินขนาด
มาจากภาคเกษตรกรรม
ภาคอุตสาหกรรมอื่น ๆ ของเราทั้งหมด
ของพื้นผิวโลก
และมันยังเป็นตัวผลักดันหนึ่ง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ที่ถูกปล่อยออกมายังโลก
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ไม่ใช่ว่าเกษตรกรรมเป็นสิ่งไม่ดี
แต่เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้
เพื่อสนองคนราวเจ็ดพันล้านคน
มันจะไม่ไปไหน
วันนี้เรามีประชากรเจ็ดพันล้านคน
ก่อนที่โลกของเราจะสิ้นสุดลง
และมีจำนวนมากขึ้น
และร่ำรวยขึ้น
มันยากที่จะเห็นว่า
ขึ้นอีกเท่าตัวเป็นอย่างน้อย
อีกเท่าตัวได้อย่างไร
ส่วนทางด้านขวามือคือที่ที่สามารถเพาะปลูกได้
โดยตั้งสมมุติฐานว่า
จะไม่แทรกแซงมากจนเกินไป
ด้วยการขยายพื้นที่ทางการเกษตร
มันเป็นสิ่งที่อันตรายมาก ๆ
เราอาจจะต้องการระงับการขยายตัว
และใช้ที่ดินที่มีอยู่ในแล้วผลิตอาหารให้ดีขึ้น
และอาจจะเป็นระดับสูงสุดเท่าที่คุณจะสามารถ
ภาพใต้สภาพอากาศและดินที่มี
แม้แต่ละตินอเมริกา
ซึ่งเป็นบริเวณที่สหภาพโซเวียต
เพื่อให้ได้ผลนั้น
และเราก็มีโอกาสที่จะทำให้มันได้ผล
ด้านความมั่นคงทางอาหารในอนาคต
ทางสิ่งแวดล้อมในอนาคต
จะทำให้ภาวะได้อย่างเสียอย่าง
ดีขึ้นได้อย่างไร
แบบถ้าจะทำก็ทำไม่ทำก็ไม่ต้องทำเลย
มันแสดงให้เห็นว่าเราผลิตอาหารมากมาย
เราไม่ได้เก็บกักคาร์บอนจำนวนมาก
ที่นำทั้งหมดมารวมกัน
อาหารอินทรีย์
การอุดหนุนทางการค้าใหม่ กฎหมายการเกษตรใหม่
ผมคิดว่ามันเหมือนการขว้างใส่เป้ามากกว่า
เวลาที่เรานำหลายความคิดมารวมกัน
ที่ดีที่สุดเข้าไว้ด้วยกัน
กับการปฏิวัติสีเขียว
ของเกษตรอินทรีย์ อาหารพื้นถิ่น
แต่ทำให้มัน
"เกษตรกรรมเพื่อโลก"
ในการนำประเด็นหลัก ๆ เหล่านี้
มาไว้ด้วยกัน
ขอผมเปิดให้คุณชมนะครับ
แห่งมลรัฐมินิโซต้า:ผลักดันเพื่อค้นพบ")
ภายในปี ค.ศ. 2040
โดยไม่ทำลายโลก
นั้นเป็นปัญหาใหญ่
'ความจริงอีกอย่างที่ไม่มีใครอยากฟัง'
ถูกแผ้วถางเพื่อการเกษตร
และชานเมืองรวมกันถึง 60 เท่าตัว
เพื่อปลูกพืชทุกปี
ทั้งหมด 7,305 ตึก เต็มทุกวัน
ที่ตอนนี้ไม่ไหลลงสู่มหาสมุทรอีกแล้ว
ในสิ่งแวดล้อมมากกว่าเท่าตัว
ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
และอุตสาหกรรมทั้งหมด
และรถยนต์ทั้งหมดรวมกัน
เกือบทั้งหมดมาจากการทำลายป่าเขตร้อนชื้น
มากเท่ากับเกษตรกรรม
ความอยู่รอดของพวกเรา
อีก 2 หรือ 3 เท่าตัว
การพูดคุยระหว่างประเทศ
ความหลากหลายของพืช การทำชลประทานแบบน้ำหยด
การบริโภคอาหารอย่างฉลาด
ที่ใหญ่ที่สุด
(เสียงปรบมือ)
ABOUT THE SPEAKER
Jonathan Foley - ProfessorJonathan Foley studies complex environmental systems and their affects on society. His computer models have shown the deep impact agriculture is having on our planet.
Why you should listen
Dr. Jonathan Foley focusses on the complex relationship between global environmental systems and human civilization, using computer models to analyze changes in land use, ecosystems and resources around the world. After 15 years at the University of Wisconsin, Foley is now a professor and McKnight Presidential Chair in the Department of Ecology and director of the Institute on the Environment at the University of Minnesota.
Jonathan Foley | Speaker | TED.com