Colin Camerer: When you're making a deal, what's going on in your brain?
โคลิน คาเมอเรอร์ (Colin Camerer): ประสาทวิทยาศาสตร์, ทฤษฎีเกม และลิง
Colin Camerer is a leading behavioral economist who studies the psychological and neural bases of choice and strategic decision-making. Full bio
Double-click the English transcript below to play the video.
ในขณะที่มันกำลัง "วางแผน"
หลายประเภทด้วยกัน
เมื่อมีผลได้ผลเสียเข้ามาเกี่ยวข้อง
และรัฐศาสตร์ รวมถึงชีววิทยาบางสาขา
ของพฤติกรรมของมนุษย์โดยใช้คณิตศาสตร์
ที่จะแสดงพฤติกรรมอย่างไร
ล้วนส่งผลกระทบต่อคนอื่นๆ
ทั้งการแข่งขัน การร่วมมือ การต่อรอง
ของค่าเฉลี่ยที่สุดจะได้รางวัล
และคนอื่นๆ ก็คงจะเลือกตัวเลข
นี่เป็นแบบจำลองง่ายๆ สำหรับอะไรบางอย่างเช่น
คุณเห็นด้วยใช่มั้ย?
เพราะนั่นทำให้คุณไม่ได้กำไรเท่าที่ควร
แต่ต้องไม่มากจนเกินไป
ที่อธิบายว่ามนุษย์คิดอย่างไรเกี่ยวกับประเด็นนี้
ผมจะใช้ทฤษฎีสมองเพื่อลองอธิบายดู
นั่นเป็นการเริ่มต้น
เพราะคงจะเลือกโดยเทียบเคียงกับ 50"
ซึ่งเป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่ามันยากสำหรับมนุษย์ที่จะ
ที่มีโครงสร้างแบบเวียนกำเนิด
เราจะได้เห็นกันในอีกไม่กี่นาที
ซึ่งชีวิตถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนต์เรื่อง "A Beautiful Mind"
ของตัวเลขที่ถูกส่งเข้ามาทั้งหมดจะได้รางวัลใหญ่ไป
และตัวเลขบางตัวมีคนเลือกมากเป็นพิเศษ
มันเกิดขึ้นที่ส่วนไหนของสมองกันแน่?
ให้คำตอบที่เฉียบแหลม และน่าสนใจมากทีเดียว
คณะวิจัยจะดูว่าใครแพ้ใครชนะ
พวกเขาจะต้องเล่นแข่งกับคอมพิวเตอร์
เทียบกับเมื่อคุณแข่งกับคอมพิวเตอร์
ดังที่เราได้เห็นไปแล้วในวันนี้
บริเวณ dorsomedial ซึ่งอยู่ตรงนี้
เหมือนกับตอนที่คุณเล่น "ลมเพลมพัด"
แข่งกับคอมพิวเตอร์ สมองก็เลยคิดแบบเดียวกัน
ของสมองส่วน dorsomedial PFC
กำลังทำอะไรบางอย่างที่แตกต่างออกไป
ข้อมูลพวกนี้มีประโยชน์อะไร?"
มาครอบที่ศีรษะคุณ
ด้วยอิเล็กโทรดตรวจจับคลื่นสมอง
ไปแบ่งกันตามที่ตกลงไว้
ที่ต่อรองกันไม่ทันเวลา
และแต่ละรอบก็มีการวางเงินไม่เท่ากัน
หรือสองดอลลาร์สำหรับแบ่งกัน"
อาจจะปฏิเสธที่จะตกลงกับข้อเสนอแบ่งเงินนี้
จำนวนเงินจริงๆ ที่วางอยู่คือเท่าไหร่ จะได้ส่วนแบ่งไปเท่าไหร่
ก็จะได้เงินส่วนที่เหลือไป
กับแรงงานลูกจ้าง
และบริษัทกำลังให้ผลประโยชน์กับลูกจ้างมากที่สุดที่เป็นไปได้
ก็ถูกจัดให้เล่นเกมแบบเผชิญหน้ากัน
ซึ่งผู้เล่นสองคนเล่นเกมกันผ่านคอมพิวเตอร์
เหมือนกับที่คุณอาจกำลังคิดอยู่นั่นแหละ
อย่างน้อยก็ไม่ได้น่าสนใจในทางประสาทวิทยาศาสตร์
เมื่อเทียบกับในกรณีที่พวกเขาตกลงกันได้
ที่ผู้เล่นตกลงกันไม่ค่อยจะได้เท่าไหร่
"แม่บ้านตัวจริง (Real Housewives)" ในทีวีนะ
หนึ่ง สอง หรือสามดอลลาร์
สี่ ห้า หรือ หก ดอลลาร์ ผู้เล่นจะตกลงกันได้เสียเป็นส่วนใหญ่
รูปด้านซ้ายมาจากผู้เล่นที่ไม่รู้
ในสมองที่ประสานจังหวะกัน
คล้ายๆ กันในส่วนที่ควบคุมด้านภาษา
ในขณะที่ผู้เล่นทั้งสองกำลังต่อรองกัน
และผม รวมทั้งคุณ ก็แตกเผ่าพันพันธุ์
คล้ายกับของพวกเรามากกว่าลิงกอริลลา!
ฉายต่อเนื่องของภาพยนต์
เท็ตทซีโระ มัตทซึซาวะ (Tetsuro Matsuzawa)
ซึ่งเป็นแนวคิดที่ล้ำหน้ามาก
อาจคงไว้ซี่งกิจกรรมในสมองบางประเภท
หรือมันกด "ขวา" และลิงอีกตัวกด "ขวา"
"ขวา" หรือกด "ขวา" ในขณะที่ลิงอีกตัวกด "ซ้าย" ถึงจะชนะ
อยู่ตรงกลาง--จริงๆแล้วคือ NE, CH และ QRE
นั่นน่าจะทำให้พฤติกรรมของลิงตัวที่สองเปลี่ยนไป
ก็เคลื่อนเข้าสู่สภาวะสมดุลของแนชอีกครั้ง
เกี่ยวกับรางวัลของเกมก่อนหน้าเท่าไหร่
จะไม่ได้วางแผนกลยุทธ์แบบซับซ้อนหลายขั้นมากนัก
ABOUT THE SPEAKER
Colin Camerer - Behavioral economistColin Camerer is a leading behavioral economist who studies the psychological and neural bases of choice and strategic decision-making.
Why you should listen
Colin Camerer focuses on brain behavior during decision making, strategizing and market trading. He is the Robert Kirby Professor of Behavioral Finance and Economics at the California Institute of Technology. A child prodigy in his youth, Camerer received a B.A. in quantitative studies from Johns Hopkins when he was just 17 and a PhD in decision theory from the University of Chicago Graduate School of Business when he was 22. Camerer's research departs from previous theory in that it does not assume the mind to be a rational and perfect system, but rather focuses on the limitations of everyday people when they play actual games, and seeks to predict how they will behave in situations that involve strategy. His studies focus on neurological findings from economic experiments in the lab (on humans -- and monkeys!) Camerer is the author of Behavioral Game Theory.
Colin Camerer | Speaker | TED.com