Joe Lassiter: We need nuclear power to solve climate change
โจ แลสซิเทอร์ (Joe Lassiter): พลังงานนิวเคลียร์คือทางออกของปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
Joe Lassiter focuses on one of the world’s most pressing problems: developing clean, secure and carbon-neutral supplies of reliable, low-cost energy all around the world. Full bio
Double-click the English transcript below to play the video.
without access to electricity.
เข้านอนโดยที่ไม่มีไฟฟ้าใช้
did not have access to clean cooking fuels
ไม่มีเชื้อเพลิงสะอาดในการทำอาหาร
in the developing world.
ที่จะเพิกเฉย
who seem so distanced from us.
ที่ดูเหมือนอยู่ห่างไกลจากเรา
the developed world,
ในโลกที่พัฒนาแล้วนั้น
ในระบบเศรษฐกิจทั้งระบบ
have lost hope about the future
ต่างสูญเสียความหวังต่ออนาคต
campaigns in my own country.
ของแซนเดอร์สและทรัมป์ในประเทศของผมเอง
turning the corner
ที่เมื่อไม่นานมานี้
that President Xi has
ที่ประธานาธิบดีสี (Xí) ต้องประสบ
in his coal and mining industries
ภาคอุตสาหกรรมถ่านหินและเหมืองแร่ของเขา
figure out how to manage
ที่กำลังหาทางในการจัดการ
เราจะก้าวไปข้างหน้าต่อไปอย่างไร
of those decisions.
ที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจเหล่านั้นได้อย่างไร
for 25 years, since Rio,
ตั้งแต่การประชุมที่กรุงริโอ ฯ
ก็คือความตกลงปารีส
ที่เกิดขึ้นจากข้อตกลงนั้น
by nations around the world.
กำลังทยอยให้สัตยาบัน
which are bottom-up agreements,
ซึ่งเป็นข้อตกลงจากระดับพื้นฐานขึ้นมา
what they think they can do,
จะทำในสิ่งที่พวกเขาคิดว่าทำได้นั้น
for the vast majority of the parties.
สำหรับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยส่วนใหญ่
at the independent analyses
ไปที่ผลการวิเคราะห์อิสระต่าง ๆ
are liable to yield,
อาจก่อให้เกิดอะไรขึ้นได้บ้าง
before us becomes clear.
ก็ปรากฏออกมาอย่างชัดเจน
Energy Information Agency's assessment
ด้านพลังงานแห่งสหรัฐอเมริกา
implement the climate commitments
ทำตามข้อตกลงด้านสภาพภูมิอากาศ
around the world
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ทั่วโลก
to look at and appreciate.
และทำความเข้าใจ
to continue to grow
ถูกคาดการณ์ว่าจะยังเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
ต้องลดลงไปอยู่ที่ศูนย์อย่างสมบูรณ์
that drive heating on the planet.
คือสิ่งที่ทำให้โลกร้อนขึ้น
the race to fossil fuels.
เรากำลังพ่ายแพ้ให้กับเชื้อเพลิงฟอสซิล
comes from the developing countries,
มาจากประเทศที่กำลังพัฒนา
from the rest of the world,
จากประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก
and Indonesia and Brazil,
อินโดนีเซีย และบราซิล
move their people
in the developed world.
ต่างก็ใช้กันอยู่โดยไม่ตระหนักอะไร
added to the planet's atmosphere,
ถูกเพิ่มเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของโลก
and into the land.
ลงไปในมหาสมุทรและผืนดิน
that are in place today.
ที่มีอยู่แต่เดิมแล้วในปัจจุบัน
of carbon into the air,
850 กิกะตันเข้าไปในอากาศ
in global mean surface temperatures,
บนพื้นผิวโลกประมาณ 2-4 องศาเซลเซียส
ที่จะเปลี่ยนแปลง ไม่ใช่ยอมรับ
is something we need to appreciate.
ต้องทำความเข้าใจ
different energy choices.
พลังงานไม่เหมือนกัน
of their natural resources.
ทรัพยากรธรรมชาติที่พวกเขามี
ในประเทศของพวกเขา
that they've followed as a society.
ปฏิบัติตามในฐานะสังคมหนึ่ง ๆ
on the surface of the planet they are.
a lot of the time,
go into the choices of countries,
ต่อการตัดสินใจของประเทศต่าง ๆ
that we need to appreciate
ที่เราจำเป็นต้องทำความเข้าใจ
of fracking and shale gas,
ในการขุดเจาะก๊าซธรรมชาติจากชั้นหินดินดาน
ต่างก็มีทางเลือก
to deploy in Germany
ที่สามารถใช้เป็นทางเลือกได้
to afford to do it.
ที่พวกเขาจะนำมาใช้ได้
show interest in nuclear power.
ต่างก็กำลังให้ความสนใจกับพลังงานนิวเคลียร์
committed to natural gas and to coal,
ก๊าซธรรมชาติและถ่านหินอยู่มาก
that comes from Russia,
แล้วคุณถามกับตัวเองว่า
not power to people.
ไม่ใช่กระจายพลังงานไปสู่ผู้คน
and low-cost energy,
ด้วยการใช้แรงงานและไฟฟ้าราคาถูก
amount of growth.
การเติบโตอย่างก้าวกระโดดได้
has dramatically increased.
ของประเทศจีนนั้นได้เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว
ความยากจนขีดสุด
$1.90 per person per day.
1.90 ดอลลาร์ต่อคนต่อวัน
of China's population
เพียงแค่ร้อยละ 20
ความยากจนขั้นรุนแรงนั้น
in civil liberties
ต่อเสรีภาพของพลเมืองบ้างก็ตาม
in the Western world.
ที่จะยอมรับในโลกตะวันตก
massively better nutrition.
ที่ดีขึ้นอย่างล้นหลาม
ท่อระบายน้ำไปตามจุดต่าง ๆ
ลดต่ำลงอย่างรวดเร็ว
ภายนอกอาคาร
is indoor air pollution,
กลับเป็นมลพิษทางอากาศภายในอาคาร
to clean cooking and heating fuels.
สะอาดในการทำอาหารและสร้างความอบอุ่นได้
that 200 million people in China
กว่า 200 ล้านคนในประเทศจีน
to clean cooking fuels.
ในการทำอาหารได้
of its own people,
ต่อความต้องการของประชากรในประเทศ
of coal burning in India,
ต่อสิ่งแวดล้อมของการเผาถ่านหินในอินเดีย
as much of its energy from coal
เป็นปริมาณเกือบสี่เท่า
the alternatives;
ไม่รู้ว่ามีทางเลือกอื่น ๆ
can do what they choose,
สามารถทำอะไรก็ได้ที่พวกเขาอยากทำ
ทำในสิ่งที่จำเป็นต้องทำ
coal's emissions in time?
เพื่อให้หยุดการปล่อยก๊าซจากถ่านหินได้ทัน
this forecast that's in front of us?
ผลการคาดการณ์ตรงหน้าของเราได้บ้าง
if we have the will to do it.
เปลี่ยนแปลงได้ หากเรามีความมุ่งมั่นที่จะทำ
about the magnitude of the problem.
ขนาดของปัญหาก่อน
are going to be built around the world.
800 ถึง 1,600 แห่งจะถูกสร้างขึ้นทั่วโลก
one-gigawatt coal plants
ขนาด 1 กิกะวัตต์ ตั้งแต่หนึ่งถึงสามแห่ง
of what we want,
ไม่ว่าเราจะต้องการอะไรก็ตาม
that rule their countries,
ของประชากรของพวกเขาแล้ว
of their citizens to do that.
มาเป็นเหตุผลในการทำเช่นนั้น
unless they have a better alternative.
เว้นเสียแต่ว่าพวกเขามีทางเลือกที่ดีกว่า
thinking that you should do something
และคิดว่าคุณควรจะลงมือทำอะไรสักอย่าง
that's going to run for 50 years
ขึ้นอีกแห่งหนึ่งซึ่งจะถูกใช้การไปอีก 50 ปี
ในการเปลี่ยนแปลงของคุณไป
that Vinod Khosla used to talk about,
วินอด โคสลา (Vinod Khosla) เคยพูดเอาไว้
but an American venture capitalist.
ที่เป็นนักร่วมลงทุนสัญชาติอเมริกัน
China and India off of fossil fuels,
ออกไปจากประเทศจีนและอินเดีย
that passed the "Chindia test,"
"มาตรฐานจีนเดีย (Chindia test)"
of the two words.
ที่เกิดจากการรวมกันของสองคำนั้น
implement it in their country,
จะต้องนำมันไปใช้ในประเทศของพวกเขาได้
by the people in the country.
ในหมู่ประชากรภายในประเทศ
that was scalable,
ที่รองรับการเพิ่มขยายได้
again, that we take for granted.
ในแบบที่พูดไปแล้วว่า เราต่างใช้กันอยู่
และการสั่งการ
for that many people
เพื่อคนจำนวนมากขนาดนั้นได้
had to go begging
พวกเขาจะต้องคอยร้องขอเงิน
"I won't trade with you,"
ที่พูดว่า "เราจะไม่ทำการค้ากับคุณ"
the technology shift to occur.
with alternatives that meet that test.
พลังงานทดแทนที่ผ่านมาตรฐานนั้นได้
ผลกระทบสิ่งแวดล้อมบอกกับเรา
800 กิกะวัตต์จากถ่านหิน
adjusting for intermittency,
ในปริมาณที่เท่ากัน เพื่อสลับใช้ในบางครั้ง
จากพลังงานหมุนเวียน
better than any other country,
โดยที่รู้ถึงผลที่ตามมาดีกว่าประเทศใด ๆ
than any other country.
กำลังมุ่งไปหาในปี ค.ศ. 2040
เราจะหยิบยื่นทางเลือกที่ดีกว่าให้
the Chindia test.
that are out there,
ทั้งหมดที่มีอยู่บนโลก
that come near to meeting it.
ที่เกือบผ่านมาตรฐานดังกล่าว
that I'll talk about in just a second.
ที่ผมจะพูดต่อจากนี้
that are on the drawing boards
ที่กำลังอยู่ในขั้นพิจารณา
developing these say
ต่างกล่าวกันว่า
in position to demo by 2025
เข้าสู่ขั้นทดลองใช้ได้ภายในปี ค.ศ. 2025
if you will just let us.
หากพวกคุณยอมให้เราทำ
that could be there in time
ที่อาจมาได้ทันเวลา
backed up with natural gas,
ที่หนุนด้วยก๊าซธรรมชาติ
which are still under development.
ที่ยังคงอยู่ในช่วงของการพัฒนา
ที่รั้งการพัฒนานิวเคลียร์รุ่นใหม่เอาไว้
and yesterday's mindsets.
และทัศนคติในแบบเก่า ๆ
scientific thinking on radiological health
ในเรื่องของรังสีวิทยาด้านสุขภาพ
with the public
of new nuclear reactors.
นิวเคลียร์ใหม่ได้อย่างไร
that we need to use
ที่เราจำเป็นต้องใช้
we regulate nuclear industry.
วิธีการควบคุมอุตสาหกรรมนิวเคลียร์
and 2 to 5 billion dollars
และเงิน 2 ถึง 5 พันล้านดอลล่าร์
military mindset
ของการพัฒนาพลังงานนิวเคลียร์
for 5 cents a kilowatt hour;
ในราคา 5 เซนต์ต่อหนึ่งกิโลวัตต์-ชั่วโมง
for 100 gigawatts a year;
100 กิกะวัตต์ต่อหนึ่งปี
ได้ภายในปี ค.ศ. 2025
ได้ภายในปี ค.ศ. 2030
waiting for a miracle.
เรากำลังนั่งรอปาฏิหาริย์
if they can't make it cheap,
ถ้าพวกเขาไม่สามารถทำให้มันถูกได้
is not carry an idea forward,
การส่งต่อความคิดสักอย่างหนึ่งไปเรื่อย ๆ
ที่คุณสนับสนุนอยู่
ให้มอบทางเลือกให้กับคุณ
ABOUT THE SPEAKER
Joe Lassiter - Energy scholarJoe Lassiter focuses on one of the world’s most pressing problems: developing clean, secure and carbon-neutral supplies of reliable, low-cost energy all around the world.
Why you should listen
As the Senator John Heinz Professor of Management Practice in Environmental Management, Retired and current Senior Fellow at Harvard Business School, Joe Lassiter studies how high-potential ventures attacking the energy problem are being financed and how their innovations are being brought to market in different parts of the world. In the MBA and executive education programs, he teaches about the lessons learned from these ventures as well as potential improvements in business practices, regulation and government policy. Lassiter also supports University-wide efforts as a faculty fellow of the Harvard Environmental Economics Program and a faculty associate of the Harvard University Center for the Environment.
Following a 20-year career leading technology businesses, Lassiter joined HBS in 1996. He has taught courses in entrepreneurial finance, entrepreneurial marketing and innovation in business, energy & environment. For Harvard University, he taught courses in innovation & entrepreneurship to undergraduates, graduate students and post-doctoral fellows across the University and its affiliated hospitals. From its founding in 2010 until 2015, Lassuter was Faculty Chair of the University-wide Harvard Innovation Lab (Harvard i-lab).
Lassiter received his BS, MS, and PhD from MIT and was awarded National Science, Adams and McDermott Fellowships. He was elected to Sigma Xi.
Joe Lassiter | Speaker | TED.com