George Tulevski: The next step in nanotechnology
จอร์จ ทูเลฟสกี (George Tulevski): ก้าวต่อไปของนาโนเทคโนโลยี
IBM's George Tulevski wants to use carbon nanotubes to revolutionize microchip design. Full bio
Double-click the English transcript below to play the video.
building a statue,
ผู้สร้างรูปสลักกันดูสิครับ
ด้วยสิ่วของเขา
of describing it when he said,
ไว้อย่างสวยหรูนี้ ยามที่กล่าวว่า
has a statue inside of it,
of the sculptor to discover it."
ที่จะค้นหามันให้พบ"
in the opposite direction?
together to form a statue.
หลอมรวมกันเป็นรูปสลัก ไม่ว่าด้วยวิธีใดก็ดี
a statue from a pile of dust
จากละอองธุลีได้
รูปสลักสร้างมันขึ้นมาด้วยตัวเอง
of these particles to come together
อนุภาคนับล้านให้มารวมตัวกัน
มันฟังดูประหลาดพิลึก
I work on in my lab.
ที่ผมทำการศึกษาในห้องทดลอง
fascinating little objects.
เป็นวัสดุชิ้นน้อย ๆ อันแสนน่าทึ่ง
was a nanoparticle,
ถ้าคันบังคับนี้เป็นอนุภาคนาโน
of this entire room.
เท่ากับห้องนี้ทั้งห้อง
we call nanotechnology,
ของวงการที่เรียกว่านาโนเทคโนโลยี
how it is going to change everything.
ว่ามันกำลังจะเปลี่ยนแปลงทุกสิ่ง
to be working in nanotechnology.
เป็นหนึ่งในช่วงเวลาที่น่าตื่นเต้นที่สุด
happening all the time.
เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา
pouring in from funding agencies.
จากหน่วยงานที่ให้ทุนสนับสนุน
of physics that govern ordinary objects,
ที่แตกต่างจากของวัตถุอื่น ๆ
that you can precisely tune their behavior
ปรับพฤติกรรมของมันได้อย่างแม่นยำ
small changes to them,
อะไรเล็กน้อยเท่านั้น
a handful of atoms,
เติมหรือกำจัดอะตอมสักหยิบมือ
you felt like you could make anything.
คุณรู้สึกราวกับว่าคุณสามารถทำอะไรก็ได้
generation of graduate students.
นักเรียนระดับปริญญาโท-เอกทั้งรุ่นของผม
computers using nanomaterials.
ที่เร็วดุจสายฟ้าแลบโดยใช้วัสดุนาโน
and find and fight disease.
เพื่อเสาะหาเชื้อโรคและกำจัดทิ้ง
trying to make an elevator to space
สร้างลิฟท์ขึ้นสู่อวกาศ
มันเป็นความจริงครับ
from computing to medicine.
นับตั้งแต่คอมพิวเตอร์ไปจนถึงการแพทย์
really important work.
ได้สร้างผลงานที่สำคัญยิ่ง
that science into new technologies --
ศาสตร์ความรู้นั้นเป็นเทคโนโลยีใหม่
that could actually impact people.
them so interesting --
a statue out of a pile of dust.
ขึ้นมาจากกองละอองธุลี
that are small enough to work with them.
จะใช้การกับมันได้
it wouldn't really matter,
มันก็ไม่สำคัญอยู่ดี
place millions of particles together
นับล้าน ๆ ทีละอนุภาคเข้าด้วยกัน
and all of the excitement
promise and excitement.
และความตื่นเต้นที่เป็นเพียงฝันหวาน
disease-fighting nanobots,
no new types of computing.
ซึ่งเป็นสิ่งที่ผมสนใจมากที่สุด
that's a really important one.
เป็นสิ่งที่สำคัญมาก
to go on indefinitely.
ที่จะดำเนินต่อไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด
บนพื้นฐานความคิดนี้
to pack more and more devices
ในการนำเอาอุปกรณ์ต่าง ๆ
มากขึ้นเรื่อย ๆ
ทวีความเล็กลงไปทุกที
และใช้พลังงานน้อยลง
that gives us this incredible pace.
ที่มอบย่างก้าวอันแสนน่าทึ่งนี้แก่เรา
that sent three men to the moon and back
ที่ใช้สำหรับส่งคนสามคนไป-กลับดวงจันทร์
greatest computer of its day,
as your smartphone --
and just toss out every two years,
แล้วโยนทิ้งกันทุก ๆ สองปีนั่นแหละ
that your smartphone does.
โทรศัพท์ของคุณทำได้
get through the first two minutes
คุณอาจจะดูหนังเรื่อง "วอล์กกิง เดด"
if you're lucky --
it's not gradual.
ไม่ได้พัฒนาค่อยเป็นค่อยไป
สั่งสมปีแล้วปีเล่า
if you compare a technology
ถ้าคุณเปรียบเทียบเทคโนโลยี
to keep this progress going.
ที่จะทำให้ความล้ำหน้านี้ก้าวต่อไป
10, 20, 30 years from now:
ในอีก 10, 20, 30 ปีนับจากนี้ว่า
over the last 30 years.
ตลอด 30 ปีที่ผ่านมา
may not last forever.
ความล้ำหน้านี้ไม่อาจคงอยู่ตลอดไป
"จะงดเสริฟเหล้าแล้วนะ" ใช่ไหมครับ
like speed and performance,
เช่นความเร็วหรือประสิทธิภาพ
ดำเนินต่อไป
always been able to do,
and our group's mission
และภารกิจของเรา
by employing carbon nanotubes,
ด้วยการใช้ท่อนาโนคาร์บอน
provide a path to continue this pace.
เพื่อให้ย่างก้าวนี้ยังคงดำเนินต่อไปได้
of carbon atoms,
ของอะตอมคาร์บอน
that small size,
ซึ่งเป็นขนาดเล็กจิ๋วนั้น
just outstanding electronic properties.
ที่โดดเด่นเหล่านี้
if we could employ them in computing,
ถ้าเราสามารถใช้พวกมันในคอมพิวเตอร์ได้
improvement in performance.
ในประสิทธิภาพถึงสิบเท่า
technology generations in just one step.
ไปหลายยุคเพียงในก้าวเดียว
the ideal solution.
เป็นทางแก้ไขที่ลงตัว
to solve your problem."
เพื่อแก้ไขปัญหาของแกเอง"
into that double-edged sword.
that's impossible to work with.
ได้ใส่วัสดุที่ไม่สามารถใช้การได้
just to make one single computer chip.
เพียงเพื่อสร้างไมโครชิฟแค่ชิ้นเดียว
it's like this undying problem.
เป็นปัญหาเดียวกันที่ไม่มีวันจบสิ้น
ว่ามีอะไรบ้างที่ขาดหายไป
that needs to be done?"
it would make her upset.
เธอจะต้องเสียใจแน่
to make this a success?"
that the statue has to build itself.
รูปสลักนั้นต้องสร้างตัวมันขึ้นมาเอง
billions of these particles
into the technology.
They have to do it for themselves.
พวกมันจะต้องทำกันเอง
and this is not trivial,
ซึ่งไม่ใช่เรื่องปกติทั่วไปเลย
this is not that alien of a problem.
มันไม่ใช่ตัวประหลาดอะไรของปัญหา
and there's examples everywhere --
มันมีตัวอย่างให้เห็นอยู่ทั่วไป
สร้างทุกสรรพสิ่งด้วยวิธีการนี้
จากพื้นฐานขึ้นมา
that use proteins --
architectures with extreme diversity.
ที่มีความหลากหลายอย่างสุดขั้ว
just hacking away.
มันละเอียดอ่อน
molecule by molecule,
ทีละโมเลกุล
that we can't even approach.
ที่เราไม่อาจเทียบเคียงได้เลย
for hundreds of millions of years.
to use the same tool that nature uses,
จะใช้อุปกรณ์แบบเดียวกับที่ธรรมชาติใช้
are about the same size as molecules,
มีขนาดพอ ๆ กับโมเลกุล
to steer these objects around,
ในการบังคับวัสดุเหล่านี้ได้
that goes into the pile of dust,
ที่ลงไปสู่กองละอองธุลี
literally billions of these particles
ในการจัดเรียงอนุภาคมากมายมหาศาล
we need to build circuits.
ที่เราต้องการเพื่อสร้างเป็นวงจรได้
that are many times faster
ที่เร็วกว่าเดิมหลายเท่า
to make using nanomaterials before.
เพื่อสร้างโดยใช้วัสดุนาโน
and gets more precise.
และแม่นยำขึ้นเรื่อย ๆ
within a handful of years --
of those original promises.
ที่เราให้ไว้แต่ต้นได้
that my group is really invested in,
สิ่งที่กลุ่มของผมทุ่มทุน
in renewable energy, in medicine,
พลังงานหมุนเวียน, การแพทย์
to move towards the nano.
เรากำลังจะมุ่งสู่นาโน
are going to need new tools --
จำต้องมีเครื่องมือใหม่
That's the point.
นั่นแหละครับ ที่เป็นประเด็นสำคัญ
once you develop these new tools,
เมื่อคุณพัฒนาเครื่องมือใหม่แล้ว
can pick them up and use them,
ก็จะสามารถนำพวกมันมาใช้ได้
on the promise of nanotechnology.
เรื่องนาโนเทคโนโลยีไว้ได้
I appreciate it.
ผมรู้สึกเป็นเกียรติมากเลยครับ
ABOUT THE SPEAKER
George Tulevski - Materials scientistIBM's George Tulevski wants to use carbon nanotubes to revolutionize microchip design.
Why you should listen
George Tulevski researches nanomaterials and develops new methods to utilize these materials in technologically relevant applications. He is currently a Research Staff Member at IBM Thomas J. Watson Research Center.
Dr. Tulevski's current work includes advancements in carbon nanotubes that can be used in next-generation computer processors, flexible electronics and sensors. He has co-authored more than 50 peer-reviewed scientific publications and over 40 patents. In addition to his research, Tulevski teaches tomorrow’s nanoscientists at Columbia University, where he received his Ph.D.
George Tulevski | Speaker | TED.com