Beau Lotto: Optical illusions show how we see
โบ ล็อตโต (Beau Lotto): ภาพลวงตาที่แสดงให้เห็นว่าเรามองเห็นอย่างไร
Beau Lotto is founder of Lottolab, a hybrid art studio and science lab. With glowing, interactive sculpture -- and old-fashioned peer-reviewed research--he's illuminating the mysteries of the brain's visual system. Full bio
Double-click the English transcript below to play the video.
ดูความจริงที่อยู่ตรงหน้าคุณ
ที่มีจุดสีต่างๆ
ทั้งในสองกระดาน
มาเริ่มกันเลย
คุณเป็นพวกสัจนิยมตัวจริง
ในการรับรู้แสงไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง
ความสำคัญของบริบท
ตามปริมาณของแสง
ที่มันพร้อมจะกระโจนเข้าใส่คุณ
ระหว่างพื้นผิวต่างๆ
มันเป็นไปไม่ได้ในทางคณิตศาสตร์
ภาพอย่างเดียวกัน
มาจากพื้นผิวสีเหลือง
จากจอประสาทตาเท่านั้น
นั้นไม่มีความหมายใดๆ
ก็เป็นจริงสำหรับข้อมูลอื่นทั่วไป
เราเห็นโดยการเรียนรู้ที่จะเห็น
มาจับคู่ให้ความหมายในเชิงพฤติกรรม
และมีปฏิสัมพันธ์กับโลกรอบๆ ตัว
กระบวนการรับรู้ เช่นเดียวกับภาษา
ให้คุณช่วยอ่านให้ผมหน่อย
(คุณอ่านนี่ได้ไหม?)
(คุณไม่ได้กำลังอ่านมัน)
(คุณกำลังอ่านอะไร?)
ครึ่งหนึ่งของตัวอักษรหายไปใช่ไหม?
ระหว่าง "W" และ "A"
ทำไมน่ะเหรอ?
หลัง "T" ตัวแรก
จากประสบการณ์ของคุณ
ปรับตัวไปสู่ค่าปกติค่าใหม่ได้เร็วแค่ไหน
เรื่องสุดธรรมดา
ภาพทะเลทรายทั้งสองว่าเหมือนกัน
เพราะผมยิ่งมีเวลาพูดไม่ค่อยจะพออยู่
แสงสีเขียว
ที่อยู่ระหว่างทะเลทรายทั้งสอง
ภาพทะเลทรายดูไม่เหมือนกันอีกต่อไป ใช่ไหม?
ชุดข้อมูลชุดเดียวกัน
นำสี่เหลี่ยมที่เหมือนกัน 2 อัน
อีกอันที่มีสีอ่อนล้อมรอบ
สีที่ล้อมรอบเป็นสีอ่อนหรือเข้ม
มีความหมายกับคุณในอดีตอย่างไร
เผยให้เห็นฉากหลังทั้งสองข้าง
กับภาพที่อยู่ในกรอบสี่เหลี่ยม
มีสีที่แทบจะตรงข้ามกันเลย
สี่เหลี่ยมทั้งสองดูเกือบจะเหมือนกัน
ถ้าเกิดต้องไปอยู่ใต้เงาจริงๆ
--ตามกฎของฟิสิกส์
มันก็ควรจะสะท้อนแสงเข้าสู่ตาในปริมาณเท่าๆ กัน
ทั้งสองอันมีสีที่เหมือนกัน
ฉากรอบๆ แผ่นสี่เหลี่ยมเหล่านั้น
มีสีเทา
ก็มีสีเทา
การรับรู้ที่ซับซ้อนเช่นการเคลื่อนไหวเช่นกัน
จะปิดตาข้างนึงก็ได้
ทำสิ่งซับซ้อนที่สุด
ประสบการณ์ของพวกมันได้อย่างสมบูรณ์
ผึ้งตัวใหญ่ๆ ที่อยู่ตรงกลาง
และสนามทดลองผ่านทางท่อแบบนี้
ถ้าพวกมันไปที่ดอกไม้สีฟ้า
มันสามารถจดจำหน้ากันได้
มันควรจะไปที่ดอกไม้สีฟ้า
ดอกไม้พวกนั้นจริงๆ เป็นสีฟ้า
ในการจัดการปัญหา
จากคำกล่าวของศิลปินร่วมสมัยคนหนึ่ง
ประสาทสัมผัสของเรา"
เพราะถ้าเป็นจริง พวกเราคงไม่ได้มาอยู่ที่นี่เป็นแน่
ที่ต่างออกไปเป็นคนละเรื่อง
เพื่อมองโลกอย่างที่มันเป็นจริงๆ
จากประสบการณ์ในอดีต
ในการให้นิยามใหม่ๆ ของสภาวะปกติ
ในการแปรเปลี่ยนไปได้อย่างมากมายของสมอง
จากโลกของการมองเห็น
สำหรับคนที่พิการทางการมองเห็น
กันอย่างไรด้วย?
เลียนแบบวงออร์เคสตรา)
ที่อยู่ภายนอกระบบธรรมชาติ
และการปฏิสัมพันธ์ของเรากับมัน
และในเชิงประสบการณ์ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
ก็คือ การยกย่องความไม่แน่นอน
ที่มีศักยภาพในการทำความเข้าใจ
ทางด้านซ้าย
ทางด้านขวา ใช่ไหม?
ที่ส่องออกมาตรงนั้น
นั้นเหมือนกันกับแสงที่ผ่าน
ไม่เหมือนแล้ว
ABOUT THE SPEAKER
Beau Lotto - Neuroscientist, ArtistBeau Lotto is founder of Lottolab, a hybrid art studio and science lab. With glowing, interactive sculpture -- and old-fashioned peer-reviewed research--he's illuminating the mysteries of the brain's visual system.
Why you should listen
"Let there be perception," was evolution's proclamation, and so it was that all creatures, from honeybees to humans, came to see the world not as it is, but as was most useful. This uncomfortable place--where what an organism's brain sees diverges from what is actually out there--is what Beau Lotto and his team at Lottolab are exploring through their dazzling art-sci experiments and public illusions. Their Bee Matrix installation, for example, places a live bee in a transparent enclosure where gallerygoers may watch it seek nectar in a virtual meadow of luminous Plexiglas flowers. (Bees, Lotto will tell you, see colors much like we humans do.) The data captured isn't just discarded, either: it's put to good use in probing scientific papers, and sometimes in more exhibits.
At their home in London’s Science Museum, the lab holds "synesthetic workshops" where kids and adults make abstract paintings that computers interpret into music, and they host regular Lates--evenings of science, music and "mass experiments." Lotto is passionate about involving people from all walks of life in research on perception--both as subjects and as fellow researchers. One such program, called "i,scientist," in fact led to the publication of the first ever peer-reviewed scientific paper written by schoolchildren ("Blackawton Bees," December 2010). It starts, "Once upon a time ..."
These and Lotto's other conjurings are slowly, charmingly bending the science of perception--and our perceptions of what science can be.
Beau Lotto | Speaker | TED.com