Alexander Betts: Why Brexit happened -- and what to do next
อเล็กซานเดอร์ เบ็ตส์ (Alexander Betts): เหตุใด Brexit จึงเกิดขึ้น แล้วเราควรจะทำอะไรต่อไป
Alexander Betts explores ways societies might empower refugees rather than pushing them to the margins. Full bio
Double-click the English transcript below to play the video.
"I am British" elicited so much pity.
ไม่เคยฟังดูน่าเวทนาเท่านี้มาก่อนเลย
where many of us like to believe
ที่ซึ่งเราทั้งหลายอยากจะเชื่อว่า
over the last thousand years.
imposed change on others
ทางประวัติศาสตร์ให้กับคนอื่น
กับพวกเราเองน้อยกว่ามาก
had voted to leave the European Union,
โหวตให้ตัวเองออกจากสหภาพยุโรป
ก็กำลังคิดจะลงประชามติอีกครั้ง
the very existence of the United Kingdom.
shock for many people,
สำหรับคนมากมาย
that, over the following several days,
ที่ในอีกสองสามวันต่อมา
in the first place.
for not fighting it hard enough.
the less well-educated.
โทษผู้ที่มีการศึกษาน้อยกว่า
แย่เสียยิ่งกว่าเดิม
in the streets of Britain
และการเหยียดเชื้อชาติทั่วไปในอังกฤษ
my country is becoming a Little England,
จะกลายเป็น "อังกุด" ไหมเนี่ย
a 1950s nostalgia theme park
คณะตลกโบราณแห่งยุค 1950
อยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกหรือเปล่า
that we've experienced since?
ในแบบที่เราไม่เคยเป็นมาก่อนหรือเปล่า
that took place overnight?
ที่เกิดได้เพียงชั่วข้ามคืนอย่างนั้นหรือ
that have led us to where we are today?
นำเราให้มาถึงจุดนี้
and ask two very basic questions.
แล้วถามคำถามง่าย ๆ สองข้อ
about our society
that we seem embarrassingly unaware of
มันน่าอับอายจริง ๆ ที่เราไม่ได้ตระหนักสักนิด
education, class and geography.
การศึกษา ชนชั้น และภูมิภาค
to vote in great numbers,
to leave the European Union.
that most strongly committed
เป็นส่วนที่ลงคะแนน
there was very strong ambivalence.
ยังมีการแบ่งออกเป็นสองฝ่ายอย่างชัดเจน
need to recognize and take seriously.
และจริงจังกับมัน
the vote teaches us something
การโหวตได้สอนบางสิ่งกับเรา
is no longer just about right and left.
ฝ่ายขวากับฝ่ายซ้ายกันแล้ว
between those that embrace globalization
อยู่ระหว่างคนที่โอบอุ้มโลกาภิวัตน์
those who wanted to leave --
as opposed to "Remainers" --
ให้ตรงข้ามกับ "ฝ่ายอยากอยู่"
and the second sovereignty,
และสิ่งที่สองคืออำนาจอธิปไตย
to take back control of their own lives
ที่ต้องการอำนาจของพวกเขากลับคืนมา
are unrepresented by politicians.
ไม่ได้เป็นตัวแทนของพวกเขา
that signify fear and alienation.
และความบาดหมาง
back towards nationalism and borders
กลับไปเป็นชาตินิยมและการครองดินแดน
is more complicated than that,
ภาพดังกล่าวมันซับซ้อนยิ่งกว่านั้น
include myself in that picture,
เอาไว้ในภาพนั้นอย่างมั่นใจ
back into the picture
how we've got to where we are today.
across the United Kingdom,
ทั่วทั้งสหราชอาณาจักร
was the very little time in my life
ก็คือผมได้ใช้เวลาเพียงเล็กน้อยในชีวิตผม
in many of the red areas.
looking at the top 50 areas in the UK
50 อันดับแรกในสหราชอาณาจักร
of four days of my life in those areas.
of the voting districts.
as inclusive, open and tolerant,
และใจกว้าง
our own countries and societies
is we need to find a new way
เราต้องหาวิธีใหม่
ให้กับคนเหล่านั้นรู้
have not necessarily been to university,
ที่อาจไม่เคยเรียนมหาวิทยาลัย
grown up with the Internet,
by the narrative that we find persuasive
ในเรื่องที่เราคิดว่าน่าสนใจ
more broadly and understand.
ให้กว้างกว่านี้และทำความเข้าใจ
the politics of fear and hatred,
แนวคิดการเมืองเรื่องความกลัวและความเกลียดชัง
the idea that the vote on Europe
and asylum-seekers coming to Europe,
ที่เข้ามายังยุโรปได้
had nothing to do with immigration
ไม่ได้เกี่ยวข้องอะไรเลยกับการย้ายถิ่นฐาน
of the Leave voters
ของกลุ่มผู้โหวตให้ออก
with the political establishment.
ต่อแนวทางการเมืองที่เป็นอยู่
ไม่มีใครเป็นตัวแทนของพวกเขาเลย
a political party that spoke for them,
ที่เป็นกระบอกเสียงแทนพวกเขาได้
that political establishment.
แนวทางการเมืองที่เป็นอยู่
and much of the liberal democratic world.
และส่วนมากในโลกเสรีประชาธิปไตย
of Donald Trump in the United States,
ต่อโดนัลด์ทรัมพ์ในสหรัฐ ฯ ที่เพิ่มสูงขึ้น
of Viktor Orbán in Hungary,
ของวิคเตอร์ ออร์แบนในฮังการี
of Marine Le Pen in France.
ในตัวของ มารี เลอ แปน ในฝรั่งเศส
is in all of our societies.
is my second question,
ก็คือคำถามที่สองของผม
collectively respond?
ตอบสนองอย่างไรต่อสิ่งนี้
liberal, open, tolerant societies,
การสร้างสังคมเสรีที่เปิดกว้างและใจกว้าง
inclusive globalization,
มีความเป็นองค์รวมสากลมากกว่าเดิม
rather than leaving them behind.
of the positive benefits of globalization.
ถึงผลประโยชน์เชิงบวกของโลกาภิวัตน์
the movement of capital,
international relations scholars
ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
brings interdependence,
จะนำไปสู่การพึ่งพากันและกัน
also has redistributive effects.
ในเรื่องการจัดสรรปันส่วนใหม่
for the economy as a whole
redistributive consequences,
for the most impoverished in our societies
ของคนยากจนที่สุดในสังคมเรา
from the fact that it's positive,
มันส่งผลดีลงไปแต่อย่างใด
have to share in those benefits
ให้กับคนจำนวนมากขึ้น
of the United Nations, Kofi Annan,
นายโคฟี อันนัน
of inclusive globalization.
โลกาภิวัตน์ในแบบครอบคลุม
in which he coined that term.
has to be open to all
ควรจะเปิดกว้างสำหรับทุกคน
and antagonistic globalization."
และเป็นปฏิปักษ์ต่อโลกาภิวัตน์
was briefly revived in 2008
ได้รับการฟื้นฟูขึ้นในช่วงสั้น ๆ ในปี ค.ศ. 2008
of European countries.
and the financial crisis of 2008,
ในปี ค.ศ. 2008
almost without a trace.
to support a neoliberal agenda.
part of an elite agenda
มันเป็นส่วนหนึ่งของวาระชนชั้นนำ
on a far more inclusive basis
ให้มีพื้นฐานที่ครอบคลุมมากกว่าเดิม
how can we achieve that goal?
เราจะบรรลุเป้าหมายนั้นได้อย่างไร
addressing fear and alienation
ระหว่างความกลัวและความบาดหมาง
refusing vehemently
ที่เกิดขึ้นในขณะเดียวกัน
ต่อชาวต่างชาติและลัทธิชาตินิยม
offers some places to start.
both ideas and about material change,
ทั้งแนวคิดและการเปลี่ยนแปลงทางวัตถุ
as a starting point.
เป็นจุดเริ่มต้น
of civic education.
แนวคิดการศึกษาของพลเมือง
and empirical reality.
กับความเป็นจริง
to a postfactual society,
สังคมหลังข้อเท็จจริง
ไม่ได้เป็นสิ่งสำคัญอีกต่อไป
to the clarity of evidence.
กับความชัดเจนของหลักฐาน
and evidence into our liberal democracies?
ขึ้นใหม่ในโลกเสรีประชาธิปไตยได้อย่างไร
that there are huge gaps.
มันมีช่องว่างความเหลื่อมล้ำที่ใหญ่มาก
Ipsos MORI
on attitudes to immigration,
ต่อการอพยพย้ายถิ่น
of immigrants increase,
เมื่อจำนวนผู้อพยพเพิ่มสูงขึ้น
with immigration also increases,
ต่อการอพยพย้ายถิ่นก็ยิ่งเพิ่มขึ้นตามไปด้วย
didn't unpack causality,
ให้เราได้อย่างชัดเจน
not so much with numbers
คงไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องของจำนวนมากนัก
and media narrative around it.
และสื่อที่เกี่ยวข้องกับมันมากกว่า
about the nature of immigration.
ในเรื่องธรรมชาติของการอพยพ
in the United Kingdom,
ความเห็นเหล่านี้ในสหราชอาณาจักร
of immigration than they were,
มากกว่าความเป็นจริง
the levels of educational migration
ระดับผู้อพยพที่มีการศึกษานั้น
of overall migration
ระดับที่แท้จริงของผู้อพยพมาก
on key aspects of globalization.
ในแง่มุมสำคัญของโลกาภิวัตน์
that's left to our schools,
ของโรงเรียนแต่เพียงผู้เดียวไม่ได้
to begin at an early age.
ตั้งแต่เด็ก ๆ
civic participation
ในแบบระยะยาว
that we all encourage as societies.
ที่เราทุกคนสนับสนุนในฐานะกลุ่มสังคม
that I think is an opportunity
across diverse communities.
ของกลุ่มสังคมที่หลากหลาย
for me very strikingly,
in the United Kingdom,
ในสหราชอาณาจักร
the regions of my country
ที่เปิดกว้างต่อผู้อพยพมากที่สุด
have the highest numbers of immigrants,
มีจำนวนผู้อพยพสูงสุด
the most tolerant areas.
ที่เปิดกว้างมากที่สุดอีกด้วย
that have the lowest levels of immigration
and intolerant towards migrants.
ใจแคบอย่างที่สุดต่อผู้อพยพ
โครงการแลกเปลี่ยนต่าง ๆ
who maybe can't travel
ที่อาจจะไม่สามารถเดินทางไปไหนได้
even on a local and national level,
ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ
การมีส่วนร่วมที่มากขึ้น
with people who we don't know
กับผู้คนที่เราไม่รู้จัก
not necessarily agree with.
จำเป็นต้องเห็นพ้องต้องกับพวกเขา
is crucial, though,
ว่าทุกคนจะได้ส่วนแบ่ง
post-Brexit is really striking.
ไฟแนนเชียล ไทม์ส นี้ น่าทึ่งจริง ๆ
who voted to leave the European Union
คนที่โหวตออกจากสหภาพยุโรปนั้น
benefited the most materially
เป็นชิ้นเป็นอันที่สุด
that those people in those areas
to be beneficiaries.
were actually getting access
and increased mobility around the world.
ทางการค้าและการโยกย้ายทั่วโลก
predominantly to do with refugees,
ในการแก้ไขเรื่องผู้ลี้ภัย
I spent a lot of my time preaching,
ในการนำเสนอมัน
around the world,
the integration of refugees,
การหลอมรวมตัวกันของผู้ลี้ภัย
the refugee populations,
จากประชากรผู้ลี้ภัยไม่ได้
of the host communities in local areas.
ของชุมชนเจ้าบ้านในท้องที่นั้น ๆ ด้วย
is that we have to provide
education facilities, health facilities,
ที่มีสัดส่วนที่ดีกว่านี้
of those local populations.
ของประชากรท้องถิ่นนั้น ๆ
around the developing world,
ให้กับประเทศที่กำลังพัฒนา
ติดตัวกลับบ้านมาด้วย
เข้ากับกลุ่มสังคมของเราเอง
to really take seriously
in the economic benefits,
อย่างจริงจังกันจริง ๆ
need a model of globalization
ต้องการแบบอย่างของโลกาภิวัตน์
have to take people with them.
ที่จะต้องรับผู้คนไปด้วยกัน
I want to put forward
และเป็นแนวคิดสุดท้ายที่ผมอยากจะผลักดัน
more responsible politics.
ที่มีความรับผิดชอบมากกว่านี้
social science evidence
across different countries
ระหว่างประเทศต่าง ๆ
and mobility on the one hand
การโยกย้ายในแง่มุมหนึ่ง
from a cursory look at that data
มันเกิดขึ้นจากการดูข้อมูลคร่าว ๆ
are far less tolerant of globalization.
มีความเปิดกว้างต่อโลกาภิวัตน์น้อยกว่ามาก
like Sweden in the past,
towards globalization.
is a tragic polarization,
ก็คือการแบ่งขั้วอันแสนเศร้า
between the extremes in politics,
ท่ามกลางการเมืองที่สุดโต่ง
of that liberal center ground
พื้นฐานกลางของความเสรี
and a shared understanding.
และความเข้าใจร่วมกัน
upon our politicians and our media
เราก็ได้เรียกร้องกับนักการเมืองและสื่อ
and be far more tolerant of one another.
และเปิดใจให้กว้างต่อกันและกัน
to be an inclusive and shared project.
ที่ได้รับความร่วมมือและการมีส่วนร่วม
are not mutually exclusive,
ไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกัน
takes everyone with us
โลกาภิวัตน์จะนำพาเราไปด้วยกัน
democracy and globalization.
กับโลกาภิวัตน์ได้อย่างแท้จริง
ABOUT THE SPEAKER
Alexander Betts - Social scientistAlexander Betts explores ways societies might empower refugees rather than pushing them to the margins.
Why you should listen
In media and in public debate, refugees are routinely portrayed as a burden. Professor Alexander Betts argues that refugees, who represent a wide spectrum of professional backgrounds, are in fact an untapped resource that could benefit nations willing to welcome them into their economies.
Betts is the director of the Refugee Studies Centre at the University of Oxford, where he spearheads research on refugee and other forced migrant populations. His book, Survival Migration, explores the predicaments of people who are fleeing disaster yet fall outside legal definitions of refugee status.
Alexander Betts | Speaker | TED.com